ความรู้เบื้องต้นสำหรับการเป็นนักวิทยุสมัครเล่น |
วิทยุสมัครเล่น คำจำกัดความค่อนข้างจะกว้าง แต่อาจจะพอสรุปได้ว่า |
" กิจการวิทยุคมนาคมที่ดำเนินการโดยพนักงานวิทยุสมัครเล่น ซึ่งได้รับอนุญาตจากทางราชการ เพื่อการฝึกฝนตนเอง การติดต่อระหว่างกัน และการทดลอง ตรวจสอบทางวิชาการวิทยุคมนาคมต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ในการเพิ่มพูนความรู้และวิชาการ โดยไม่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางด้านธุรกิจ หรือการเงิน หรือการเมือง" |
วิทยุสมัครเล่น เป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่ง ซึ่งมีคุณค่าต่อการสร้างทรัพยากรมนุษย์ให้กับประเทศชาติอย่างยิ่ง การเล่นวิทยุฝึกให้คนมีวินัย ฝึกหัวใจให้แกร่ง ฝึกสมองให้ไว ให้กระตือรือร้น ค้นคว้าด้วยตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าแสดงออก จิตใจเปิดกว้างต่อสังคม ปรับตัวให้เข้ากับความแตกต่าง อย่างเปิดเผย และมีอัธยาศัยไมตรีอย่างอบอุ่น เพิ่มพูนความรู้ความสนใจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเอง และ ประเทศชาติต่อไป |
ปัจจุบันนี้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่งที่ให้ความสนุกสนานและความรู้
โดยคนทั่วโลกกว่าล้านคน
เป็นความตื่นเต้นบนการสื่อสารที่จะสร้างสถานีในการติดต่อสื่อสารกับนักวิทยุสมัครเล่นคนอื่นๆ
ซึ่งทำให้งานอดิเรกแบบนี้ก่อให้เกิดการทดลองและความคิดใหม่ๆเพื่อการพัฒนาความรู้และสร้างเพื่อนใหม่ให้กับตัวเอง |
-
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดด้วยรหัสมอร์สหรือเสียงพูดกับนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกได้ด้วยความถี่ย่าน
HF |
วัตถุประสงค์ของนักวิทยุสมัครเล่น
กิจการวิทยุสมัครเล่น มีวัตถุประสงค์เพื่อ
เสริมสร้างประโยชน์ต่อสังคมและความปลอดถัยของชาติใช้
เป็นข่ายสื่อสารสาธารณะสำรองในยามฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบัติ
พัฒนาความรู้ด้านวิชาการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ
ฝึกฝนพนักงานวิทยุให้มีความรู้ความชำนาญยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เพิ่มพูนจำนวนพนักงานวิทยุสำรองไว้ใช้ประโยชน์ยามฉุก
เฉิน
สร้างชื่อเสียงของประเทศให้เป็นที่รู้จักในวงการวิทยุระหว่างประเทศ
บัญญัติ 6 ประการที่นักวิทยุสมัครเล่นสมควรรู้
1..คำนึงถึงผู้อื่น เขาจะไม่ใช้การออกอากาศ ในลักษณะที่ตั้งใจไปลดทอนความพึงพอใจของผู้อื่น
2. มีความรักต่อกิจการ เขาจะมอบความจริงใจ ให้การส่งและสนับสนุนแก่เพื่อนนักวิทยุสมัครเล่น แก่ชมรม แก่สมาคม
3. รักความก้าวหน้า มีความรู้ที่ทันสมัย มีการพัฒนาสถานีให้มีประสิทธิภาพ
4. มีอัธยาศัยดี เขายินดีที่จะส่งข้อความอย่างช้าๆ และอารมณ์เย็น ให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเอื้ออารี และให้ความสนใจผู้อื่น
5. มีดุลยภาพ วิทยุสมัครเล่นเป็นงานอดิเรก ซึ่งจะไม่รบกวนภาระหน้าที่ใดๆ ที่มีต่อครอบครัว อาชีพ สถาบันต่างๆ หรือความสัมพันธ์ที่มีต่อชุมชน
6. มีความรักชาติ พร้อมที่จะใช้ความรู้ความสามารถ เพื่อประเทศชาติและชุมชนเสมอ
QSO กันอย่างไรดี
ปัจจุบัน การสนทนาหรือ QSO ของ ชาววิทยุสมัครเล่นเปลี่ยนไปมาก จนทำให้นักวิทยุสมัครเล่นหน้าเก่าๆ เริ่มหายไปเพราะความเบื่อ กันมากขึ้น ซึ่งก็มีด้วยหลายสาเหตุ เช่น มีการกดคีย์ทับกันบ้าง มีการพูดภาษาไม่สุภาพ บ้าง ละเลยเพื่อนสมาชิกบ้าง เราลองมา ทบทวนกันดีกว่า เราควรทำอยากไรกันบ้างขณะที่ QSO
1. ฟังให้มาก ไม่ควรให้เสียงรบกวนใดๆ เล็ดลอดไป กับความถี่ ตรวจสอบก่อนกดคีย์ ออกอากาศ ไม่ใช่เสียงแบคกราวด์ ดังกว่าเสียงเราแล้วให้เพื่อนสมาชิกตะแคงหูฟัง
2. กะจังหวะ คู่สถานีที่เราเรียกหาว่า พร้อมที่จะมาสนทนากับเรา
3. เรียกช่วงสั้นๆ เว้นช่องว่าง เพื่อฟังคำตอบ สัก 3 ครั้งกำลังดี ไม่ช้าไม่เร็วเกินไปด้วย
4. กดคีย์ให้แน่น ปากชิดไมค์ ไม่ตะโกน เสียงจะเพราะดูสวยดูหล่อ
5. จดสัญญาณเรียกขาน ของเพื่อนไว้จะได้ไม่ลืม
6. พูดให้ ติดต่อ ไม่สับสน สั้นๆได้ใจความ
7. สนทนาสบายๆ ให้เป็นธรรมชาติ ไม่เสแสร้ง ดัดเสียง
ปราศจากเรื่องส่วนตัว ไม่โอ้อวด สุภาพ
พูดถูกกาละ และเทศะ
8. ควรตรวจดูว่าก่อนเรียกขาน มีผู้ใดใช้ความถึ่
อยู่ก่อนหรือเปล่า ฟังสักพักให้แน่ใจหรือสอบถาม
มีท่านใดใช้ความถี่อยู่หรือไม่
โดยการสอบถามว่า"มีเพื่อนสมาชิกสถานีใดใช้ความถี่อยู่หรือไม่
จาก HS ,E2... "
ถ้าไม่มีเสียงใดตอบ แสดงว่าว่างเราถึงเรียกขานเพื่อนสมาชิก
9. เมื่อตอบรับ ต้องชัดเจน เช่น HS..... E2 ...... ตอบค่ะ (ครับ) อย่า ตอบๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ไม่น่าดูเลย
10. อย่าใจร้อน เช่น ถ้า ก. เรียก ข. อยู่ ค อยากคุยด้วย
ยังไม่สมควรที่จะเรียก ก.เข้าไปรอให้เขา clear
หรือ stand by
ก็แล้วค่อยเรียกก็ได้
11. ถ้าจะขอเข้า ร่วมสนทนา อย่าลืมแจ้งนามเรียกขาน อย่า แท็กค์ๆๆๆ หรือเบรคๆๆๆ อย่างเดียวเลย
12. อย่าเป็นเสือปืนไว เว้นช่องว่างให้เพื่อนผูงได้คอนแท็กค์บ้าง เป็นการเอื้อเฟื้อ
13. คำฟุ่มเฟือย ไร้ความหมายอย่าใช้ โล เจ้อ คับ หรือ
XYL เขาใช้กันทั่วโลก ทำไม๊เมืองไทยใช้ X-Ray
หรือจะพูดว่าว่าขับรถ แต่กลับใช้ drive mobile
แถม QRD ไปทางซ้าย QRD
ไปทางขวา
ไม่มีนะเคัาใช้กับท่าเรือนะ QTR
อีกคำชอบใช้กันเหลือเกิน ผมจะไปหาท่าน ตอน QTR 13.00 QTR
นี้ผมไม่ว่าง QTR
หมายถึงขณะนี้เวลาเท่าไรจ้า
14. การค้า การเมือง เรื่องศาสนา อย่านำมาพูดมีเรื่องพูดอีกตั้งเยอะ
15. ความลับไม่มีในอากาศ จงอย่าพลาด จะให้ดีต้องทางโทรศัพท์นะ
16. เราควรพัฒนาการใช้สายอากาศดีกว่าการเพิ่มกําลังส่ง
เพราะมิฉะนั้นแล้วสัญญาณของเราอาจจะไปรบกวน
เพื่อนสมาชิก
ที่ใช้อยู่ข้างช่องหรือแม้กระทั่งข้างบ้านได้
เพราะระยะหลังกรมไปรษณียประกาศใช้ความถี่
ช่องห่าง12.5พื่อนสมาชิกบาง
สถานีเมื่อใช้ช่องความถี่ติดกันเกิดQSOแล้วมีเสียงลอดข้ามช่อง
เลยต่างเพิ่ม
กําลังส่งเพื่อที่จะให้คู่สถานีรับสัญญาณได้
ก็เลยกลายเป็นว่าไม่เกิดความสามัคคีกัน
การรายงานสัญญาณด้วยระบบ RST (RST System) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
เพื่อตรวจสอบว่าว่าสภาพสัญญาณ ที่ขณะทำการติดต่อสื่อสารเป็นอย่างไร ชัดเจนเพียงใด พร้อมจะติดต่อกันหรือไม่ ควรจะปรับปรุงอย่างไรเพื่อให้สัญญาณดีขึ้น การรายงานสัญญาณด้วยระบบ RST คือการรายงานคุณภาพและความแรงของสัญญาณ ซึ่งเป็นที่นิยมโดยทั่วไปในกิจการวิทยุสมัครเล่น |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
แต่เนื่องจากการติดต่อระบบวิทยุโทรศัพท์ไม่มีสัญญาณวิทยุโทรเลข จึงตัดการรายงาน T (Tone) ทิ้งไป เรียกว่าระบบ RS นิยมดูค่า S จาก S-Meter ของเครื่องรับวิทยุ ซึ่งมีสเกลจาก 1 ถึง 9 |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวอย่าง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
หลักเกณฑ์การใช้ความถี่วิทยุสำหรับกิจการวิทยุสมัคเล่น |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ดังนั้นนักวิทยุสมัครเล่นทุกคนจึงควรสแตนด์บายที่ช่องเรียกขาน
145.0000 MHz
นี้ เพื่อ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสารสำหรับนักวิทยุสมัคเล่น |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
2.การเรียกขานเพื่อแจ้งเหตุทั่วไป |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
3.การเรียกขานเพื่อแจ้งเหตฉุกเฉิน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
การเช็คเน็ท |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสาร |
สัญญาณเรียกขาน (Call
Sign)
ข้อกำหนดของสัญญานเรียกขาน
ตามกฎข้อบังคับ วิทยุระหว่างประเทศกำหนด ให้สถานีวิทยุคมนาคม ให้สัญญาณเรียกขาน
(Call Sign) เพื่อประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร
ซึ่งจะทำให้ทราบว่าเป็นสัญญาณมาจากสถานีใด เป็นสถานีในกิจการประเภทใด
และเป็นของประเทศใด หรืออยู่ในพื้นที่ใดของประเทศ เช่น HSA - HAZ และ E2A - E2Z
คืออักษรขึ้นต้นสัญญาณ เรียกขานระหว่างประเทศสำหรับ ประเทศไทย เป็นต้น
กรมไปรษณีย์โทรเลข จะเป็นผู้กำหนดสัญญาณเรียกขาน
สำหรับนักวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย โดยใช้รูปแบบที่ระบุ
ในข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ และกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
HSn X
HSn XX
HSn XXX
จากรหัสข้างต้นนั้น มีความหมายตาม อักษรดังนี้
HS หมายถึง ระบุว่าเป็นประเทศไทย ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ เป็นรหัสเก่า
ที่ยังเหลือใช้อยู่
n หมายถึง ตัวเลข 0 ถึง 9 ใช้ระบุว่าอยู่ในเขตพื้นที่ใดของประเทศไทย
พยัญชนะ 1 ตัว หรือ 2 ตัว หรือ 3 ตัว มีรายละเอียดดังนี้
X - ใช้สำหรับระดับ VIP สูงสุดของประเทศ
XX - ใช้เรียงตามลำดับจาก AA - ZZ ยกเว้น AA - AZ ซึ่งสำรองไว้สำหรับสถานีกรณีพิเศษ
เช่น สถานีทวนสัญญาณ (beacon), สถานีของชมรม หรือสมาคม (Club Station) และ
สถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ และยกเว้น CQ, HS
XXX - ใช้เรียงตามลำดับจาก AAA - ZZZ ยกเว้น DDD ,QAA - QZZ , SOS และ TTT
E2n X
E2n XX
E2n XXX
จากรหัสข้างต้นนั้น มีความหมายตาม อักษรดังนี้
E2 หมายถึง ระบุว่าเป็นประเทศไทย ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ เป็นรหัสใหม่
ทีมีใช้กันแล้ว ในบางพื้นที่
n หมายถึง ตัวเลข 0 ถึง 9 ใช้ระบุว่าอยู่ในเขตพื้นที่ใดของประเทศไทย
พยัญชนะ 1 ตัว หรือ 2 ตัว หรือ 3 ตัว มีรายละเอียดดังนี้
X - ใช้สำหรับระดับ VIP สูงสุดของประเทศ
XX - ใช้เรียงตามลำดับจาก AA - ZZ ยกเว้น AA - AZ ซึ่งสำรองไว้สำหรับสถานีกรณีพิเศษ
เช่น สถานีทวนสัญญาณ (beacon), สถานีของชมรม หรือสมาคม (Club Station) และ
สถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ และยกเว้น CQ, HS
XXX - ใช้เรียงตามลำดับจาก AAA - ZZZ ยกเว้น DDD ,QAA - QZZ , SOS และ TTT
การแบ่งเขตสัญญาณเรียกขานในประเทศ
สัญญาณเรียกขานแบ่งกลุ่มตามพื้นที่
1. สัญญาณเรียกขาน "HS1 XXX" และ HS0 XXX" มี 10 จังหวัด
กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบุรี
สิงห์บุรี อ่างทอง
2. สัญญาณเรียกขาน "HS2 XXX" มี 7 จังหวัด
จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง
3. สัญญาณเรียกขาน "HS3 XXX" มี 7 จังหวัด
ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี
4. สัญญาณเรียกขาน "HS4 XXX" มี 10 จังหวัด
กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร นองคาย อุดรธานี
5. สัญญาณเรียกขาน "HS5 XXX" มี 9 จังหวัด
เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน อุตรดิตถ์
6. สัญญาณเรียกขาน "HS6 XXX" มี 8 จังหวัด
กำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุทัยธานี
7. สัญญาณเรียกขาน "HS7 XXX" มี 8 จังหวัด
กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
สุพรรณบุรี
8. สัญญาณเรียกขาน "HS8 XXX" มี 7 จังหวัด
กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี
9. สัญญาณเรียกขาน "HS9 XXX" มี 7 จังหวัด
ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล
สัญญาณเรียกขานใหม่
การแบ่งเขตนามเรียกขานใหม่
เขต 1 HS0, HS1 ใช้สัญญาณเรียกขาน E20 E21 E22 E23 E24 E25 E26
เขต 2 HS2 ใช้สัญญาณเรียกขาน E27
เขต 3 HS3 ใช้สัญญาณเรียกขาน E27
เขต 4 HS4 ใช้สัญญาณเรียกขาน E27
เขต 5 HS5 ใช้สัญญาณเรียกขาน E28
เขต 6 HS6 ใช้สัญญาณเรียกขาน E28
เขต 7 HS7 ใช้สัญญาณเรียกขาน E29
เขต 8 HS8 ใช้สัญญาณเรียกขาน E29
เขต 9 HS9 ใช้สัญญาณเรียกขาน E29
Table of Allocation of International Call Sign Series
Call Sign Series |
Allocated to |
AAA-ALZ |
United States of America |
AMA-AOZ |
Spain |
APA-ASZ |
Pakistan (Islamic Republic of) |
ATA-AWZ |
India (Republic of) |
AXA-AXZ |
Australia |
AYA-AZZ |
Argentine Republic |
A2A-A2Z |
Botswana (Republic of) |
A3A-A3Z |
Tonga (Kingdom of) |
A4A-A4Z |
Oman (Sultanate of) |
A5A-A5Z |
Bhutan (Kingdom of) |
A6A-A6Z |
United Arab Emirates |
A7A-A7Z |
Qatar (State of) |
A8A-A8Z |
Liberia (Republic of) |
A9A-A9Z |
Bahrain (State of) |
BAA-BZZ |
China (People's Republic of) |
CAA-CEZ |
Chile |
CFA-CKZ |
Canada |
CLA-CMZ |
Cuba |
CNA-CNZ |
Morocco (Kingdom of) |
COA-COZ |
Cuba |
CPA-CPZ |
Bolivia (Republic of) |
CQA-CUZ |
Portugal |
CVA-CXZ |
Uruguay (Eastern Republic of) |
CYA-CZZ |
Canada |
C2A-C2Z |
Nauru (Republic of) |
C3A-C3Z |
Andorra (Principality of) |
C4A-C4Z |
Cyprus (Republic of) |
C5A-C5Z |
Gambia (Republic of the) |
C6A-C6Z |
Bahamas (Commonwealth of the) |
* C7A-C7Z |
World Meteorological Organization |
C8A-C9Z |
Mozambique (Republic of) |
DAA-DRZ |
Germany (Federal Republic of) |
DSA-DTZ |
Korea (Republic of) |
DUA-DZZ |
Philippines (Republic of the) |
D2A-D3Z |
Angola (Republic of) |
D4A-D4Z |
Cape Verde (Republic of) |
D5A-D5Z |
Liberia (Republic of) |
D6A-D6Z |
Comoros (Islamic Federal Republic of the) |
D7A-D9Z |
Korea (Republic of) |
EAA-EHZ |
Spain |
EIA-EJZ |
Ireland |
EKA-EKZ |
Armenia (Republic of) |
ELA-ELZ |
Liberia (Republic of) |
EMA-EOZ |
Ukraine |
EPA-EQZ |
Iran (Islamic Republic of) |
ERA-ERZ |
Moldova (Republic of) |
ESA-ESZ |
Estonia (Republic of) |
ETA-ETZ |
Ethiopia (Federal Democratic Republic of) |
EUA-EWZ |
Belarus (Republic of) |
EXA-EXZ |
Kyrgyz Republic |
EYA-EYZ |
Tajikistan (Republic of) |
EZA-EZZ |
Turkmenistan |
E2A-E2Z |
Thailand |
E3A-E3Z |
Eritrea |
** E4A-E4Z |
Palestinian Authority |
E5A-E5Z |
New Zealand - Cook Islands |
E7A-E7Z |
Bosnia and Herzegovina (Republic of) |
FAA-FZZ |
France |
GAA-GZZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
HAA-HAZ |
Hungary (Republic of) |
HBA-HBZ |
Switzerland (Confederation of) |
HCA-HDZ |
Ecuador |
HEA-HEZ |
Switzerland (Confederation of) |
HFA-HFZ |
Poland (Republic of) |
HGA-HGZ |
Hungary (Republic of) |
HHA-HHZ |
Haiti (Republic of) |
HIA-HIZ |
Dominican Republic |
HJA-HKZ |
Colombia (Republic of) |
HLA-HLZ |
Korea (Republic of) |
HMA-HMZ |
Democratic People's Republic of Korea |
HNA-HNZ |
Iraq (Republic of) |
HOA-HPZ |
Panama (Republic of) |
HQA-HRZ |
Honduras (Republic of) |
HSA-HSZ |
Thailand |
HTA-HTZ |
Nicaragua |
HUA-HUZ |
El Salvador (Republic of) |
HVA-HVZ |
Vatican City State |
HWA-HYZ |
France |
HZA-HZZ |
Saudi Arabia (Kingdom of) |
H2A-H2Z |
Cyprus (Republic of) |
H3A-H3Z |
Panama (Republic of) |
H4A-H4Z |
Solomon Islands |
H6A-H7Z |
Nicaragua |
H8A-H9Z |
Panama (Republic of) |
IAA-IZZ |
Italy |
JAA-JSZ |
Japan |
JTA-JVZ |
Mongolia |
JWA-JXZ |
Norway |
JYA-JYZ |
Jordan (Hashemite Kingdom of) |
JZA-JZZ |
Indonesia (Republic of) |
J2A-J2Z |
Djibouti (Republic of) |
J3A-J3Z |
Grenada |
J4A-J4Z |
Greece |
J5A-J5Z |
Guinea-Bissau (Republic of) |
J6A-J6Z |
Saint Lucia |
J7A-J7Z |
Dominica (Commonwealth of) |
J8A-J8Z |
Saint Vincent and the Grenadines |
KAA-KZZ |
United States of America |
LAA-LNZ |
Norway |
LOA-LWZ |
Argentine Republic |
LXA-LXZ |
Luxembourg |
LYA-LYZ |
Lithuania (Republic of) |
LZA-LZZ |
Bulgaria (Republic of) |
L2A-L9Z |
Argentine Republic |
MAA-MZZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
NAA-NZZ |
United States of America |
OAA-OCZ |
Peru |
ODA-ODZ |
Lebanon |
OEA-OEZ |
Austria |
OFA-OJZ |
Finland |
OKA-OLZ |
Czech Republic |
OMA-OMZ |
Slovak Republic |
ONA-OTZ |
Belgium |
OUA-OZZ |
Denmark |
PAA-PIZ |
Netherlands (Kingdom of the) |
PJA-PJZ |
Netherlands (Kingdom of the) - Netherlands Antilles |
PKA-POZ |
Indonesia (Republic of) |
PPA-PYZ |
Brazil (Federative Republic of) |
PZA-PZZ |
Suriname (Republic of) |
P2A-P2Z |
Papua New Guinea |
P3A-P3Z |
Cyprus (Republic of) |
P4A-P4Z |
Netherlands (Kingdom of the) - Aruba |
P5A-P9Z |
Democratic People's Republic of Korea |
RAA-RZZ |
Russian Federation |
SAA-SMZ |
Sweden |
SNA-SRZ |
Poland (Republic of) |
SSA-SSM |
Egypt (Arab Republic of) |
SSN-STZ |
Sudan (Republic of the) |
SUA-SUZ |
Egypt (Arab Republic of) |
SVA-SZZ |
Greece |
S2A-S3Z |
Bangladesh (People's Republic of) |
S5A-S5Z |
Slovenia (Republic of) |
S6A-S6Z |
Singapore (Republic of) |
S7A-S7Z |
Seychelles (Republic of) |
S8A-S8Z |
South Africa (Republic of) |
S9A-S9Z |
Sao Tome and Principe (Democratic Republic of) |
TAA-TCZ |
Turkey |
TDA-TDZ |
Guatemala (Republic of) |
TEA-TEZ |
Costa Rica |
TFA-TFZ |
Iceland |
TGA-TGZ |
Guatemala (Republic of) |
THA-THZ |
France |
TIA-TIZ |
Costa Rica |
TJA-TJZ |
Cameroon (Republic of) |
TKA-TKZ |
France |
TLA-TLZ |
Central African Republic |
TMA-TMZ |
France |
TNA-TNZ |
Congo (Republic of the) |
TOA-TQZ |
France |
TRA-TRZ |
Gabonese Republic |
TSA-TSZ |
Tunisia |
TTA-TTZ |
Chad (Republic of) |
TUA-TUZ |
Côte d'Ivoire (Republic of) |
TVA-TXZ |
France |
TYA-TYZ |
Benin (Republic of) |
TZA-TZZ |
Mali (Republic of) |
T2A-T2Z |
Tuvalu |
T3A-T3Z |
Kiribati (Republic of) |
T4A-T4Z |
Cuba |
T5A-T5Z |
Somali Democratic Republic |
T6A-T6Z |
Afghanistan (Islamic State of) |
T7A-T7Z |
San Marino (Republic of) |
T8A-T8Z |
Palau (Republic of) |
UAA-UIZ |
Russian Federation |
UJA-UMZ |
Uzbekistan (Republic of) |
UNA-UQZ |
Kazakhstan (Republic of) |
URA-UZZ |
Ukraine |
VAA-VGZ |
Canada |
VHA-VNZ |
Australia |
VOA-VOZ |
Canada |
VPA-VQZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
VRA-VRZ |
China (People's Republic of) - Hong Kong |
VSA-VSZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
VTA-VWZ |
India (Republic of) |
VXA-VYZ |
Canada |
VZA-VZZ |
Australia |
V2A-V2Z |
Antigua and Barbuda |
V3A-V3Z |
Belize |
V4A-V4Z |
Saint Kitts and Nevis |
V5A-V5Z |
Namibia (Republic of) |
V6A-V6Z |
Micronesia (Federated States of) |
V7A-V7Z |
Marshall Islands (Republic of the) |
V8A-V8Z |
Brunei Darussalam |
WAA-WZZ |
United States of America |
XAA-XIZ |
Mexico |
XJA-XOZ |
Canada |
XPA-XPZ |
Denmark |
XQA-XRZ |
Chile |
XSA-XSZ |
China (People's Republic of) |
XTA-XTZ |
Burkina Faso |
XUA-XUZ |
Cambodia (Kingdom of) |
XVA-XVZ |
Viet Nam (Socialist Republic of) |
XWA-XWZ |
Lao People's Democratic Republic |
XXA-XXZ |
Portugal |
XYA-XZZ |
Myanmar (Union of) |
YAA-YAZ |
Afghanistan (Islamic State of) |
YBA-YHZ |
Indonesia (Republic of) |
YIA-YIZ |
Iraq (Republic of) |
YJA-YJZ |
Vanuatu (Republic of) |
YKA-YKZ |
Syrian Arab Republic |
YLA-YLZ |
Latvia (Republic of) |
YMA-YMZ |
Turkey |
YNA-YNZ |
Nicaragua |
YOA-YRZ |
Romania |
YSA-YSZ |
El Salvador (Republic of) |
YTA-YUZ |
Serbia |
YVA-YYZ |
Venezuela (Republic of) |
Y2A-Y9Z |
Germany (Federal Republic of) |
ZAA-ZAZ |
Albania (Republic of) |
ZBA-ZJZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
ZKA-ZMZ |
New Zealand |
ZNA-ZOZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
ZPA-ZPZ |
Paraguay (Republic of) |
ZQA-ZQZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
ZRA-ZUZ |
South Africa (Republic of) |
ZVA-ZZZ |
Brazil (Federative Republic of) |
Z2A-Z2Z |
Zimbabwe (Republic of) |
Z3A-Z3Z |
The Former Yugoslav Republic of Macedonia |
2AA-2ZZ |
United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland |
3AA-3AZ |
Monaco (Principality of) |
3BA-3BZ |
Mauritius (Republic of) |
3CA-3CZ |
Equatorial Guinea (Republic of) |
3DA-3DM |
Swaziland (Kingdom of) |
3DN-3DZ |
Fiji (Republic of) |
3EA-3FZ |
Panama (Republic of) |
3GA-3GZ |
Chile |
3HA-3UZ |
China (People's Republic of) |
3VA-3VZ |
Tunisia |
3WA-3WZ |
Viet Nam (Socialist Republic of) |
3XA-3XZ |
Guinea (Republic of) |
3YA-3YZ |
Norway |
3ZA-3ZZ |
Poland (Republic of) |
4AA-4CZ |
Mexico |
4DA-4IZ |
Philippines (Republic of the) |
4JA-4KZ |
Azerbaijani Republic |
4LA-4LZ |
Georgia (Republic of) |
4MA-4MZ |
Venezuela (Republic of) |
4OA-4OZ |
Montenegro |
4PA-4SZ |
Sri Lanka (Democratic Socialist Republic of) |
4TA-4TZ |
Peru |
* 4UA-4UZ |
United Nations |
4VA-4VZ |
Haiti (Republic of) |
*4WA-4WZ |
United Nations |
4XA-4XZ |
Israel (State of) |
* 4YA-4YZ |
International Civil Aviation Organization |
4ZA-4ZZ |
Israel (State of) |
5AA-5AZ |
Libya (Socialist People's Libyan Arab Jamahiriya) |
5BA-5BZ |
Cyprus (Republic of) |
5CA-5GZ |
Morocco (Kingdom of) |
5HA-5IZ |
Tanzania (United Republic of) |
5JA-5KZ |
Colombia (Republic of) |
5LA-5MZ |
Liberia (Republic of) |
5NA-5OZ |
Nigeria (Federal Republic of) |
5PA-5QZ |
Denmark |
5RA-5SZ |
Madagascar (Republic of) |
5TA-5TZ |
Mauritania (Islamic Republic of) |
5UA-5UZ |
Niger (Republic of the) |
5VA-5VZ |
Togolese Republic |
5WA-5WZ |
Samoa (Independent State of) |
5XA-5XZ |
Uganda (Republic of) |
5YA-5ZZ |
Kenya (Republic of) |
6AA-6BZ |
Egypt (Arab Republic of) |
6CA-6CZ |
Syrian Arab Republic |
6DA-6JZ |
Mexico |
6KA-6NZ |
Korea (Republic of) |
6OA-6OZ |
Somali Democratic Republic |
6PA-6SZ |
Pakistan (Islamic Republic of) |
6TA-6UZ |
Sudan (Republic of the) |
6VA-6WZ |
Senegal (Republic of) |
6XA-6XZ |
Madagascar (Republic of) |
6YA-6YZ |
Jamaica |
6ZA-6ZZ |
Liberia (Republic of) |
7AA-7IZ |
Indonesia (Republic of) |
7JA-7NZ |
Japan |
7OA-7OZ |
Yemen (Republic of) |
7PA-7PZ |
Lesotho (Kingdom of) |
7QA-7QZ |
Malawi |
7RA-7RZ |
Algeria (People's Democratic Republic of) |
7SA-7SZ |
Sweden |
7TA-7YZ |
Algeria (People's Democratic Republic of) |
7ZA-7ZZ |
Saudi Arabia (Kingdom of) |
8AA-8IZ |
Indonesia (Republic of) |
8JA-8NZ |
Japan |
8OA-8OZ |
Botswana (Republic of) |
8PA-8PZ |
Barbados |
8QA-8QZ |
Maldives (Republic of) |
8RA-8RZ |
Guyana |
8SA-8SZ |
Sweden |
8TA-8YZ |
India (Republic of) |
8ZA-8ZZ |
Saudi Arabia (Kingdom of) |
9AA-9AZ |
Croatia (Republic of) |
9BA-9DZ |
Iran (Islamic Republic of) |
9EA-9FZ |
Ethiopia (Federal Democratic Republic of) |
9GA-9GZ |
Ghana |
9HA-9HZ |
Malta |
9IA-9JZ |
Zambia (Republic of) |
9KA-9KZ |
Kuwait (State of) |
9LA-9LZ |
Sierra Leone |
9MA-9MZ |
Malaysia |
9NA-9NZ |
Nepal |
9OA-9TZ |
Democratic Republic of the Congo |
9UA-9UZ |
Burundi (Republic of) |
9VA-9VZ |
Singapore (Republic of) |
9WA-9WZ |
Malaysia |
9XA-9XZ |
Rwandese Republic |
9YA-9ZZ |
Trinidad and Tobago |
Call Sign Series |
Allocated to |
"นักวิทยุสมัครเล่น" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "amateur radio operator" หมายถึงบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากรัฐบาลหรือจากผู้ที่มีอำนาจของแต่ละประเทศ นักวิทยุสมัครเล่นจะใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีของนักวิทยุสมัครเล่นสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นที่ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกัน รวมทั้งใช้ความถี่ที่กำหนดให้เฉพาะกิจการวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งการใช้งานจะต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุญาต นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการกำหนดสัญญาณเรียกขาน เพื่อระบุตัวตนในการติดต่อสื่อสาร ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกประมาณ 3 ล้านคน
นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า "ham" สำหรับที่มาของคำว่า "ham" นั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อใด และนักวิทยุสมัครเล่นมักจะเรียกหรือกล่าวถึงนักวิทยุสมัครเล่นที่เสียชีวิตไปแล้วว่า "silent key"
สำหรับกรณีที่เป็นสถานีวิทยุสมัครเล่นกำหนดให้มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศไม่เกิน 2 ตัวอักษรแล้วตามด้วยตัวเลขเพื่อระบุว่าอยู่ในเขตพื้นที่ใดของประเทศ สุดท้ายจะมีอักษรเรียงลำดับตั้งแต่ 1 - 3 ตัว รวมทั้งหมดสัญญาณเรียกขานสำหรับนักวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย จะมีไม่เกิน 6 หลัก ดังนี้
1. อักษรโรมัน 1 ตัว ใช้สำหรับบุคคลสำคัญของประเทศ
2. อักษรโรมัน 2 ตัว ใช้เรียงตามลำดับจาก BB ถึง ZZ โดยเว้นอักษร AA ถึง AZ จำนวน 26 ลำดับ เพื่อสำรองให้สถานีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ ยกเว้นอักษร "CQ" และ "HS"
3. อักษรโรมัน 3 ตัว ใช้เรียงตามลำดับจาก AAA ถึง ZZZ ยกเว้น DDD, QAA-QZZ, SOS และ TTT
มีไม่กี่ประเทศที่ได้บันทึกเกี่ยวกับคุณลักษณะของนักวิทยุสมัครเล่นไว้ นอกจากจำนวนของนักวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น นักวิทยุสมัครเล่นส่วนใหญ่จะอยู่ในประเทศเหล่านี้ ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไทย เกาหลีใต้ และสหภาพยุโรป มีเพียง 2 ประเทศเท่านั้นที่ไม่อนุญาตให้ประชาชนทั่วไปเป็นนักวิทยุสมัครเล่น คือ เยเมน และ เกาหลีเหนือ ในบางประเทศก็เป็นการยากที่ประชาชนทั่วไปจะได้รับอนุญาตเนื่องจากค่าใบอนุญาตที่สูงมาก ในบางประเทศก็อนุญาตให้ชาวต่างชาติด้วย ซึ่งมีจำนวนน้อยที่นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับอนุญาตในหลายๆ ประเทศพร้อมกัน
ประเทศ |
จำนวนนักวิทยุสมัครเล่น |
ปี ค.ศ. |
1,296,059 |
1999 |
|
679,864 |
2000 |
|
176,278 |
2006 |
|
141,000 |
2000 |
|
79,666 |
2000 |
|
68,692 |
1999 |
|
58,700 |
1999 |
|
58,426 |
2000 |
|
44,024 |
2000 |
|
38,000 |
1993 |
|
32,053 |
1997 |
|
30,000 |
1993 |
|
27,815 |
1997 |
|
18,500 |
1997 |
|
17,265 |
2000 |
|
16,889 |
1999 |
|
10,679 |
2000 |
|
6,000 |
1994 |
|
5,302 |
2000 |
|
2,730 |
2006 |
|
800 |
2000 |
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ขั้นตอนการดำเนินการออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคม
|
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 ยื่นแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคม
2
ดำเนินการตรวจคำขอและหลักฐานประกอบคำขอพร้อมเขียนใบนำส่งให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียม 3 ลงทะเบียนรับคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคม 4 ดำเนินการตัดยอดเครื่องวิทยุคมนาคมตามคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคม 5 เสนอคำขอผ่านหัวหน้างานถึงหัวหน้าฝ่าย 6 ดำเนินการออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมด้วยเครื่อง COMPUTER 7 ตรวจดูรายละเอียดใบอนุญาตวิทยุคมนาคมก่อนเสนอลงนาม 8 รอจ่ายใบอนุญาตวิทยุคมนาคม ณ ที่จ่าย |
การขอใบอนุญาตวิทยุคมนาคม
|
1. การขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุคมนาคมและใบอนุญาตให้มีใช้เครื่องวิทยุคมนาคมหรือตั้งสถานี
1.1
กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด
2
การขออนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมกับผู้อื่น
2.1
เจ้าของเครื่องวิทยุคมนาคมและผู้ขอใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมกรอกแบบคำขอใช้เครื่องวิทยุ
3 การขอโอนเครื่องวิทยุคมนาคม
3.1ผู้โอนและผู้รับโอนกรอกใบคำขอโอนเครื่องวิทยุคมนาคมและแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุ |
การขอใบอนุญาตวิทยุคมนาคม |
1
การขอใบอนุญาติให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมจำนวนเครื่องเพิ่มเติม
1.1
กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด
2
การขออนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมกับผู้อื่น
2.1
เจ้าของเครื่องวิทยุคมนาคมและผู้ขอใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
กรอกใบคำขอใช้เครื่องวิทยุ
3 การขออนุญาตโอนเครื่องวิทยุคมนาคม
3.1
ผู้โอนและผู้รับโอนกรอกใบคำขอโอนเครื่องวิทยุคมนาคมและแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุ
4 การขอใบอนุญาตตั้งสถานีวิทยุคมนาคม
4.1
กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด |
การขออนุญาตตั้งสถานีประจําที่ |
1. บัตรนักวิทยุสมัครเล่น (
กรณีที่ได้นามเรียกขานมาแล้ว ) 4. กรอกเอกสารคําขอตั้งสถานีตามระเบียบกรมไปรษณีย์ |
การขอยกเลิกการตั้งสถานีวิทยุคมนาคม |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 กรอกแบบคำขอยกเลิกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด 2 แนบใบอนุญาตให้ตั้งสถานีวิทยุคมนาคมต้นฉบับจริง
3
ในกรณีเครื่องวิทยุคมนาคมที่ขอยกเลิกมีกำลังส่งเกินกว่า 5
วัตต์ขึ้นไป จะต้องนำเครื่องวิทยุ
4
ในกรณีเครื่องวิทยุคมนาคมที่ตั้งสถานีเป็นเครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือ
ยังสามารถใช้เครื่อง |
การขอยกเลิกการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมกับผู้อื่น |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 กรอกแบบคำขอยกเลิกการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด 2 แนบใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ร่วมต้นฉบับจริง |
การขอยกเลิกใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่สูญหาย |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 กรอกแบบคำขอยกเลิกการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด 2 ใบแจ้งความของสถานีตำรวจท้องที่ที่เครื่องวิทยุคมนาคมสูญหาย 3 แนบใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่สูญหายต้นฉบับจริง |
การขอใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่สูญหายได้รับคืน |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด 2 ใบแจ้งความที่ได้รับเครื่องวิทยุคมนาคมคืนของสถานีตำรวจท้องที่เดิม 3 สำเนาใบอนุญาตพนักงานวิทยุคมนาคมประจำสถานีวิทยุสมัครเล่น
4
นำเครื่องวิทยุคมนาคมที่ส่งคืนมาให้กรมไปรษณีย์โทรเลข
ดำเนินการตรวจสอบก่อนออกใบอนุญาต
|
การขอมีเครื่องวิทยุคมนาคมไว้ในครอบครอง |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต 1 กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด
2 ให้ผู้ขอนำเครื่องวิทยุคมนาคม
ส่งให้กรมไปรษณีย์โทรเลขทำการ SEAL
เครื่องวิทยุคมนาคม
3
กรณีขอใบอนุญาติให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่มีไว้ในครอบครอง
ให้ผู้ขอนำเครื่องวิทยุคมนาคมส่ง
|
การขอต่ออายุใบอนุญาตวิทยุคมนาคม |
การขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุคมนาคมและใบอนุญาตให้มีใช้เครื่องวิทยุคมนาคมหรือตั้งสถานีวิทยุคมนาคม 1 กรอกแบบคำขอให้ออกใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามที่กรมไปรษณีย์โทรเลขกำหนด 2 แนบใบอนุญาตวิทยุคมนาคมต้นฉบับจริงคืนกรมไปรษณีย์โทรเลข
3 ใบแจ้งความของสถานีตำรวจท้องที่
หรือใบรับแจ้งเอกสารสูญหายของกรมไปรษณีย์โทรเลขกรณี
4 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด
1 นิ้ว จำนวน 2รูป
สีหรือขาวดำ กรณีขอต่อ
5
หากขอต่ออายุใบอนุญาตทางไปรษณีย์ให้ดำเนินการจัดส่งหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
พร้อมส่ง
|
ใบอนุญาตให้ค้าเครื่องวิทยุคมนาคม |
หลักฐานประกอบคำขออนุญาต
|
ใบอนุญาตให้ซ่อมแซมเครื่องวิทยุคมนาคม |
หลักฐานประกอบคำขอใบอนุญาต |
ใบอนุญาตนำเข้าและหรือทำเครื่องวิทยุคมนาคม |
เครื่องวิทยุคมนาคมที่ยังไม่เคยผ่านการนำเข้า
โดยการทดสอบรับรองตัวอย่างเครื่องวิทยุคมนาคมมาก่อน |
ใบอนุญาตนำเข้าและหรือทำเครื่องวิทยุคมนาคม |
การนำเข้าเครื่องวิทยุคมนาคมที่เคยผ่านการนำเข้ามาในราชอาณาจักรและมีการส่งเครื่องวิทยุคมนาคมมาตรวจ |
ใบอนุญาตนำเข้า นำออก ทำ มี เครื่องวิทยุคมนาคม |
|
ใบอนุญาตนำออกเครื่องวิทยุคมนาคม |
สำหรับกรณีต่ออายุใบอนุญาต นำเข้า นำออก
ทำเครื่องวิทยุคมนาคม ให้แนบหลักฐานดังต่อไปนี้ |
ใบแทนใบอนุญาต ค้า/ซ่อมแซม/นำเข้า/นำออก/ทำ |
ให้แนบหลักฐานดังต่อไปนี้
|
|
มาลองคิดกันดูว่าถ้าเอาสาย RG-8 มา 1 แลมด้า มาใช้งานที่ความถี่ 144.225 MHz จะต้องใช้ความยาวเท่าไหร่?
( 1 ) ความยาว 1
แลมด้า(อากาศ)ที่ความถี่ 144.225 Mhz มีค่า
= 299.8 / 144.225
= 2.078 เมตร
( 2 ) ความยาว 1 แลมด้า (สายนำสัญญาณ) ที่ความถี่ 144.225
มีค่า
= 2.078 x 0.66
= 1.371 เมตร
ตอบ; ความยาว 1 แลมด้า ของสาย RG-8 ที่ความถี่ 144.225 MHz
มีค่า 1.371 เมตร.
ระบบพิกัดกริด
กิจการวิทยุสมัครเล่นได้นำ ระบบพิกัดกริด หรือ Grid Locator System มาใช้เพื่อบอกตำแหน่งที่ตั้งของสถานีบนพื้นโลกด้วยรหัสที่กำหนดไว้แล้ว นักวิทยุสมัครเล่นชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Morris สัญญาณเรียกขาน G4ANB เป็นผู้นำเสนอระบบนี้มาใช้ และต่อมาได้มีกลุ่มนักวิทยุสมัครเล่นที่สนใจการติดต่อสื่อสารย่าน VHF ได้มีการปรับเพื่อนำมาใช้ จากการประชุมที่เมือง Maidenhead ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1980 ซึ่งต่อมาก็ได้มีการเรียกระบบพิกัดกริดนี้ว่า Maidenhead Locator System
ระบบพิกัดกริด Maidenhead ได้ถูกนำมาใช้แทนระบบ QRA เดิมในเวลาต่อมาด้วย
ระบบพิกัดกริด Maidenhead มักเรียกกันว่า Grid Locator หรือ Grid Square อีกด้วย
ระบบพิกัดกริด ในการกำหนดรหัสนั้นจำเป็นต้องกำหนดให้สั้นเพื่อความสะดวกในการรับ-ส่ง
การแบ่งพื้นที่โลกจะแบ่งออกเป็นตาราง ซึ่งมีความละเอียด 3 ระดับ กำหนดรหัสกำกับทุกระดับขนาดตารางพื้นที่ เป็นรหัส 2 ตัว 4 ตัว และ 6 ตัว เริ่มจาก 2 ตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ (upper case) และ 2 ตัวเลข และอีก 2 ตัวอักษร ตัวพิมพ์เล็ก (lower case) เรียงลำดับจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกและจากทิศใต้ไปทิศเหนือ
ระดับแรกแบ่งพื้นที่โลกออกเป็น เขตพื้นที่ เรียกว่า ฟีลด์ (field) มีขนาดกว้าง 20 องศาเส้นแวง (20˚ of longitude) สูง 10 องศาเส้นรุ้ง (10˚ of latitude) ได้ 324 ฟีลด์ แต่ละฟิลด์กำกับด้วยรหัสอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ 2 ตัว
ระดับที่ 2 แบ่งในแต่ละพื้นที่ฟิลด์ออกเป็น ตาราง เรียกว่า สแควร์ (square) มีขนาดกว้าง 2 องศาเส้นแวง (2˚ of longitude) สูง 1 องศาเส้นรุ้ง (1˚ of latitude) ได้ 100 สแควร์ แต่ละสแควร์กำกับด้วยรหัสตัวเลข 2 ตัว ต่อจากรหัสฟิลด์
ระดับที่ 3 สุดท้าย แบ่งในแต่ละพื้นที่สแควร์ออกเป็น ตารางย่อย เรียกว่า ซับสแควร์ (subsqaure) มีขนาดกว้าง 5 ลิปดาเส้นแวง (5 minutes of longitude) และสูง 2.5 ลิปดาเส้นรุ้ง (2.5 minutes of latitude) ได้ 576 ซับสแควร์ แต่ละซับสแควร์กำกับด้วยรหัสอักษรตัวพิมพ์เล็ก 2 ตัว ต่อจากรหัสสแควร์
(SPECTRUM REQUIREMENTS OF THE AMATEUR AND AMATEUR-SATELLITE SERVICES)
ในระหว่างการประชุมของตัวแทนสหภาพวิทยุสมัครเล่นนานาชาติ หรือ International Amateur Radio Union (IARU) ในปี พ.ศ. 2533 ได้ตัดสินใจให้จัดทำรายงานความต้องการความถี่วิทยุในปัจจุบันและอนาคตของกิจการวิทยุสมัครเล่นและกิจการวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียม ซึ่งจะนำไปสู่ข้อตกลงระหว่างประเทศ และนำเสนอต่อที่ประชุมใหญ่นานาชาติ เพื่อจัดสรรค์ความถี่เหล่านี้ในอนาคต
ในฐานะที่ IARU เป็นตัวแทนของนักวิทยุสมัครเล่นและวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียมทั่วโลก มีหน้าที่รับผิดชอบดังต่อไปนี้
1. ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกเกือบ 3 ล้านคน และจากที่มีการแก้ไข ระเบียบข้อที่ 25 ในการประชุม WRC-03 ที่ยกเลิกการสอบ รหัสมอร์ส ส่งผลให้จำนวนนักวิทยุสมัครเล่นจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
2. จำนวนและชนิดของรูปแบบการติดต่อสื่อสารใหม่ที่นักวิทยุสมัครเล่นใช้งานมีการเพิ่มขึ้น และมีการคิดค้นรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เช่น การส่งเสียงพูดแบบ Digital (Digital Voice) การส่งข้อมูล (Data) และการส่งรูปภาพ (Image) ซึ่งเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพของนักวิทยุสมัครเล่น และก็เป็นการเพิ่มความน่าสนใจของกิจการวิทยุสมัครเล่นซึ่งส่งผลให้มีความหนาแน่นของการใช้งานตามไปด้วย
3. การใช้งานรูปแบบ Single-Sideband ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายมากว่า 50 ปี ได้ถูกใช้งานเกือบจะทุกความถี่ที่นักวิทยุสมัครเล่นใช้งานอยู่ในปัจจุบัน เป็นโอกาสอันดีที่จะเพิ่มความถี่ใหม่ โดยเฉพาะความถี่ย่าน MF และ HF ที่มีอย่างจำกัดในปัจจุบัน
4. ปัจจุบันมีการแบ่งกันใช้งานกับกิจการอื่นในบางช่วง ความถี่ ซึ่งเป็นการใช้งานความถี่อย่างมีประสิทธิภาพ ในการแบ่งกันใช้เป็นการลดความคับคั่งของการใช้ความถี่ในกิจการอื่น ซึ่งมีข้อจำกัด เช่น มีนักวิทยุสมัครเล่นกระจายอยู่ในเกือบทุกพื้นที่ และใช้รูปแบบการติดต่อสื่อสารที่หลากหลาย อาจทำให้มีการรบกวนกันระหว่างกิจการได้
ถ้าสามารถทำได้ หมายเหตุ (Country Footnotes) ในแต่ละประเทศที่มีการกำหนดเพิ่มเติมหรือจัดสรรค์เป็นอย่างอื่นนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในตารางจัดสรรค์ความถี่ที่กำหนดให้เป็นของกิจการวิทยุสมัครเล่นและกิจการวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียม ควรลบออก ควรพยายามที่จะเอารายชื่อประเทศในหมายเหตุออกแทนที่จะใส่เข้าไป
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการแบ่งการใช้งานความถี่ย่าน LF ทั่วโลก
ในช่วงความถี่นี้มีลักษณะที่แตกต่างจากช่วงความถี่ที่สูงกว่า และมีสิ่งที่น่าสนใจมากมายของการแพร่กระจายคลื่นย่าน LF ซึ่งต้องการทดสอบ ทดลองอีกมาก ซึ่งในปัจจุบัน ITU ยังมิได้กำหนดให้นักวิทยุสมัครเล่นได้ใช้งานในย่านความถี่ LF นี้
ได้มีการพยายามจากตัวแทนของ IARU ภูมิภาคที่ 1 นำเสนอ Recommendation 62-01 เข้าไปเมื่อเดือนพฤษภาคม 1997 โดย CEPT (European Radiocommunications Committee)
Recommendation 62-01 มีข้อความดังนี้
"1) กำหนดให้ความถี่ช่วง 135.7 - 137.8 KHz เป็นกิจการรอง สำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น โดยกำลังส่งสูงสุดไม่เกิน 1 วัตต์ (ERP) สำหรับประเทศในกลุ่ม CEPT"
ประเทศที่อยู่ในข่ายได้รับอนุญาตเป็นพิเศษในความถี่ช่วง 135.7 - 137.8 KHz ใน ERC/REC 62-01 ครั้งนั้นได้แก่ ออสเตรีย บัลเกเรีย สาธารณรัฐเช็ค แอสโทเนีย ฟินแลนด์ ฮังการี ไอส์แลนด์ อิตาลี ลิทัวเนีย เนเธอแลนด์ นอร์เวย์ โรมาเนีย สโลเวเนีย สเปน และอังกฤษ
และมีประเทศ ออสเตเรีย อาเจ็นตินา แคนนาดา นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา ได้รับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษในความถี่ช่วง 135.7 - 137.8 KHz
มีบางประเทศที่ได้อนุญาตเป็นการชั่วคราวให้กิจการวิทยุสมัครเล่นได้ใช้งานความถี่ LF ด้วยกำลังส่งต่ำ เช่น 160 - 190 KHz ในประเทศสหรัฐอเมริกา และ 165 - 190 KHz ในประเทศออสเตเรีย สำหรับในประเทศนิวซีแลนด์ในปี 1990 หลังจากที่ได้ข้อสรุปจาก NZART นักวิทยุสมัครเล่นก็ได้ใช้งานความถี่ช่วง 165 - 190 KHz เป็นกรณีพิเศษ ซึ่งในปี 2001 การอนุญาตได้สิ้นสุดลง และได้มีการกำหนดให้ความถี่ 130 - 190 KHz เป็นความถี่ของกิจการวิทยุสมัครเล่น
ในการศึกษาความถี่นี้ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ผ่านการเห็นชอบแล้วในหลักการ ความต้องการของสมาคมวิทยุสมัครเล่นสหรัฐอเมริกา (ARRL) คือการขอแบ่งช่วงความถี่ 160 - 190 KHz ในขณะเดียวกัน ARRL ก็ต้องต่อสู้กับ FCC เพื่อขอให้กำหนดให้ความถี่ 135.7 - 137.8 KHz และ 160 - 190 KHz เป็นของกิจการวิทยุสมัครเล่น โดยเป็นกิจการรอง ในปี 2002 FCC ได้จัดทำประชาพิจารณ์เกี่ยวกับการจัดสรร์ความถี่ 160 - 190 KHz ให้กับกิจการวิทยุสมัครเล่น และในปี 2003 FCC ได้เสนอรายงานและคำสั่งกำหนดความถี่หลายช่วงเป็นของกิจการวิทยุสมัครเล่น แต่ปฏิเสธการให้ความถี่ 135.7 - 137.8 KHz เป็นผลมากจากที่มีบริษัทผลตตไฟฟ้าได้ร้องว่ากิจการวิทยุสมัครเล่นได้ก่อให้เกิดการรบกวนกับระบบสายส่งไฟฟ้า อย่างไรก็ได้ FCC ก็ยังคงอนุญาตให้ใช้งานได้ในบ้าง
The "Responsible Working Party" for the conduct of ITU-R studies related to WRC-07 agenda item 1.15 is WP 8A.
Region 3 (Darwin, 2000) recommended that an LF band segment of 15 kHz between 165 and 190 kHz and/or 135.7-137.8 kHz be sought through local administrations throughout Region 3 noting the international communications experiments that have taken and could take place. Region 3 (Taipei, 2004) updated this recommendation, referring to "in the vicinity of 180 kHz" instead of 165-190 kHz.
Region 2 (Guatemala City, 2001) urged its member-societies to support a coordinated approach to secondary allocations to the Amateur Service in the bands 135.7-137.8 kHz and 160-190 kHz.
In CITEL, Canada introduced an Inter-American Proposal to WRC-03 for a similar allocation by footnote in Region 2. Instead, WRC-03 decided to establish agenda item 1.15 for WRC-07, which reads:
1.15 to
consider a secondary allocation to the amateur service in the
frequency band 135.7-137.8 kHz.
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการให้ขยายความถี่จากเดิม 10100 - 10150 KHz เป็น 10100 - 10350 KHz และเปลี่ยนจากกิจการรองเป็นกิจการหลัก
ความถี่ช่วง 10100 - 10150 KHz ได้รับจัดสรรค์ใหม่จากการประชุม WRC-79 โดยกำหนดให้เป็นกิจการรอง ซึ่งเป็นย่านความถี่ HF ย่านเดียวของกิจการวิทยุสมัครเล่นที่ถูกกำหนดให้เป็นกิจการรอง ซึ่งนักวิทยุสมัครเล่นที่ใช้งานย่านความถี่นี้พยายามอย่างยิ่งไม่ให้เกิดการรบกวนกับกิจการประจำที่ (Fixed Service) ที่กำหนดให้เป็นกิจการหลัก ถึงแม้จะมีข้อจำกัดอยู่แต่ก็ได้รับความนิยมอย่างมากจากนักวิทยุสมัครเล่นเนื่องจากเป็นความถี่ระหว่างกลางของความถี่ 7 MHz และ 14 MHz เพราะในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของการแพร่กระจายคลื่นนั้นจะมีบางช่วงที่ความถี่ 7 MHz และ 14 MHz ใช้งานไม่ค่อยดีนัก แต่ความถี่ 10 MHz จะมาอยู่ระหว่างกลาง
อย่างน้อยที่สุดกิจการวิทยุสมัครเล่นในความถี่นี้ควรมีช่วงของความถี่ 250 KHz อาจเป็นช่วง 10100 - 10350 KHz เพื่อจะได้ใช้งานอย่างเหมาะสมที่สุด และกำหนดให้เป็นกิจการหลัก
ด้วยจำนวนประชากรนักวิทยุสมัครเล่นที่เพิ่มขึ้นและมีการใช้งานอย่างอิสระในความถี่ช่วงนี้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศโดยใช้การติดต่อสื่อสารแบบ CW SSB และ Digital นั้นควรที่จะขยายกลับไปยังช่วงความถี่เดิมที่เคยได้รับ คือ 14000 - 14400 KHz
เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าความถี่นี้เป็นความถี่ที่ได้รับความนิยมอย่างมากของนักวิทยุสมัครเล่นที่ใช้ติดต่อระหว่างประเทศ และมักมีการใช้งานที่หนาแน่นมากทั้ง CW และ SSB ในปีที่ผ่านมาพบว่าเป็นการยากมากที่จะเพิ่มรูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบใหม่ๆ ในช่วงความถี่ 14 MHz นี้ อาจเป็นเพราะข้อจำกัดในเรื่องของการทดลองของนักวิทยุสมัครเล่นใหม่ๆที่ไม่สามารถทำได้ในความถี่นี้
ในการประชุมที่ Washington ในปี 1927 ในความถี่ช่วงนี้กำหนดให้ตั้งแต่ความถี่ 14000 - 14400 KHz แต่ในการประชุมที่ Atlantic City เมื่อปี 1947 ได้ถูกลดความถี่ลง 50 KHz มาที่ 14000 - 14350 KHz
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการคงความถี่ช่วง 50MHz นี่ไว้ และต้องการ Bandwidth อย่างน้อย 2MHz ในทุกพื้นที่ และจัดสรรค์เฉพาะนักวิทยุสมัครเล่นเท่านั้นไม่น้อยกว่า 500KHz
ความถี่ช่วงนี้ถูกใช้งานโดยนักวิทยุสมัครเล่นติดต่อระยะใกล้ได้ตลอดทั้งวัน การแพร่กระจายคลื่นโดยการสะท้อนชั้นบรรยากาศและการกระจายคลื่นฟ้า โดยสะท้อนชั้นบรรยากาศชั้น E (Sporadic-E) และในบ้างครั้งขึ้นไปจนถึงชั้น F ในช่วงที่ค่าจุดดับบนดวงอาทิตย์สูง ซึ่งส่งผลให้สามารถติดต่อได้ในระยะไกลขึ้น เช่นเดียวกับการติดต่อโดยอาศัย Aurora ในแถบประเทศขั้วโลก การติดต่อโดยการสะท้อนดาวตกโดยใช้การส่งรหัสมอร์สและการติดต่อด้วยเสียง ในปัจจุบันเราสามารถใช้คอมพิวเตอร์มาเสริมการติดต่อสื่อสารแบบสะท้อนดาวตกทำให้สามารถติดต่อได้ไกลถึง 2000 กิโลเมตร
ในแถบประเทศภูมิภาคที่ 2 และ 3 และบางประเทศในภูมิภาคที่ 1 ได้กำหนดให้นักวิทยุสมัครเล่นใช้ได้ถึง 4MHz ในช่วงความถี่นี้ และบางพื้นที่ก็ถูกกำหนดให้ใช้สำหรับการส่งสัญญาณโทรทัศน์ ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถใช้งานบางช่วงของความถี่ 50MHz นี้ได้ ในประเทศที่ใช้ใบอนุญาติ CEPT แถบยุโรป หรือภูมิภาคที่ 1 นั้นกำหนดให้ความถี่ช่วง 50 - 52 MHz เป็นกิจการรองในกิจการวิทยุสมัครเล่น ซึ่งหมายถึงต้องแบ่งกันใช้งานกับกิจการอื่น ซึ่งสมาคมวิทยุสมัครเล่นในแถบยุโรปก็ได้มีความพยายามที่จะขอให้เป็นกิจการหลักในกิจการวิทยุสมัครเล่น
กิจการวิทยุสมัครเล่นและกิจการวิทยุสมัครเล่น ต้องการคงไว้ในช่วงความถี่ 144 - 146 MHz โดยกำหนดตรงกันทั่วโลก และให้นำหมายเหตุ (Footnootes) ที่มีในบางประเทศออก และคงไว้ช่วงความถี่ 146 - 148 Mhz ในภูมิภาคที่ 2 และ 3
ในช่วงความถี่นี้ถูกใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกประเทศ มีการนำ Mode ใหม่ๆ มาใช้ในความถี่นี้มาก คุณสมบัติหลักของความถี่นี้คือใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารบนพื้นโลกระยะไม่ไกลนัก ทั้งเสียงพูดและรูปแบบของเครือข่ายข้อมูล รวมทั้งการติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์ (EME) และการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นด้วย ในบางพื้นที่ที่มีการใช้งานความถี่นี้อย่างมาก เช่น ประเทศไทย ซึ่งนักวิทยุสมัครเล่นใหม่จะได้รับอนุญาติให้ใช้ความถี่นี่เป็นหลัก มักเกิดความหนาแน่นและกระจุกตัวของจำนวนนักวิทยุสมัครเล่น สำหรับการติดต่อแบบ EME (Earth-Moon-Earth) นั้นได้รับความนิยมมากที่สุดในความถี่นี้ เนื่องด้วยเพราะอัตรการสูญเสียและสัญญาณรบกวนที่ต่ำกว่าความถี่อื่นๆ รวมทั้งระบบสายอากาศที่ไม่ยุ่งยากด้วย ในความถี่นี้นักวิทยุสมัครเล่นยังได้เฝ้าสังเกตุการแพร่กระจายคลื่นที่ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ในรูปแบบแปลกได้อีกด้วย
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการคงไว้ความถี่ช่วง 430 - 440 MHz ที่ครอบคลุมทุกประเทศทั่วโลก และมีการแบ่งกันใช้กับกิจการอื่นในช่วงความถี่ 430 - 430 MHz และ 440 - 450 MHz และขอให้ลบหมายเหตุ (Footnote) ในบางประเทศที่ยังคงกำหนดให้แบ่งกันใช้กับกิจการประจำที่และเคลื่อนที่ในช่วงความถี่ 430 - 440 MHz
ความถี่ช่วงนี้นับได้ว่าเป็นความถี่ที่สำคัญมากในกิจการวิทยุสมัครเล่น เป็นความถี่ที่ต่ำที่สุกที่สามารถใช้งานในรูปแบบ Fast-Scan TV (6M00C3F emission) หรือรูปแบบอื่นที่ต้องการใช้ช่วงกว้างของความถี่ (Bandwidth) คล้ายกัน ทั้งยังให้คุณภาพและประสิทธิภาพที่ดีเยี่ยมสำหรับการใช้ในการติดต่อสารด้วยเสียงพูดและการสื่อสารข้อมูล และในขณะเดียวกันก็ยังใช้เป็นความถี่ที่ใช้ทดสอบการแพร่การจายคลื่นผ่านชั้นบรรยากาศ รวมทั้งการติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์ Earth-Moon-Earth หรือ EME อีกด้วย
การติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นก็ใช้งานความถี่นี้อย่างมากเช่นกันในช่วงความถี่ 435 - 438 MHz ซึ่งปัจจุบันการติดต่อสือสารจากอวกาศสู่พื้นโลกของกิจการวิทยุสมัครเล่นกำหนดให้อยู่ในระหว่างความถี่ 146 MHz และ 2.4 GHz เท่านั้น และด้วยความหนาแน่นของความถี่ช่วง 435 MHz - 438 MHz ซึ่งใช้ในกลุ่มดาวเทียมที่ไม่มีมนุษย์และสถานีอวกาศที่มีมนุษย์อาศัย (สถานีอวกาศ) อาจจำเป็นต้องมีการขยายช่วงความถี่ไปเป็น 435 - 440 MHz ถ้าสามารถทำได้
เพราะว่านักวิทยุสมัครเล่นมีการใช้งานรูปแบบการติดต่อสื่อสารที่น่าสนใจมากมายในความถี่ช่วงนี้ ซึ่งต้องมีการแบ่งปันกันใช้งานในเหล่านักวิทยุสมัครเล่นด้วยกันเอง ตามความถี่ เวลาและสถานที่ ในบางครั้งมีการใช้สายอากาศทิศทางที่มีอัตราขยายสูงมากๆ ในบางรูปแบบของการติดต่อสื่อสาร หรือเพื่อต้องการแบ่งกันใช้ความถี่ แต่อย่างไรก็ตามการแบ่งใช้ความถี่กับกิจการอื่นอาจมีข้อจำกัดหลายๆ อย่าง เช่น หลายครั้งมีการจำกัดการใช้งานของกิจการวิทยุสมัครเล่นเนื่องด้วยลักษณะการใช้งานของกิจการอื่น และเพื่อเป็นการเอื้ออำนวยสำหรับการติดต่อสื่อสารและการทดสอบ ทดลองต่างๆ ระหว่างประเทศ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นและวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียมในทุกๆ ประเทศใช้งานช่วงความถี่ที่ตรงกัน และกำหนดให้เป็นความถี่เฉพาะ และปราศจากการรบกวนจากการใช้งานของกิจการอื่นๆ และในขณะเดียวกันก็เป็นการป้องกันการรบกวนของกิจการอื่นด้วยเช่นกัน ที่สัญญาณจากิจการวิทยุสมัครเล่นและวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียมจะเข้าไปรวบกวนได้ ตัวอย่างเช่น การที่กำหนดให้อุปกรณ์สื่อสารระยะใกล้กำลังส่งต่ำมาใช้งานอยู่ในช่วงความถี่ 433 MHz อาจได้รับการรบกวนได้
ในการประชุม ERC-2003 ครั้งที่ผ่านมาความถี่ช่วง 420 - 470 MHz ได้ถูกพยายามที่จะนำไปใช้สำหรับกิจการดาวเทียมสำรวจโลก ซึ่งในครั้งนั้น IARU ได้เข้าร่วมด้วย และพบว่าการนำความถี่ไปใช้งาน ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดการใช้ความถี่ของกิจการวิทยุสมัครเล่นและวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียม จนกว่าจะมีความเห็นเป็นที่น่าพอใจของ Recommendation ITU-R SA.1260 ซึ่งต่อมาได้ผ่านการพิจารณาในปี 2003 และในที่ประชุม WRC-03 ได้กำหนดให้กิจการดาวเทียมสำรวจโลกมาใช้เป็นกิจการรองในความถี่ 432 - 438 MHz
Fixed Wireless Access (FWA) ก็ได้นำเสนอแผนที่จะนำความถี่ 423.05 - 430 MHz และ 440 - 450 MHz ในประเทศภูมิภาคที่ 2 ซึ่งไม่ได้กำหนดให้เป็นของกิจการวิทยุสมัครเล่น ไปใช้งานสำหรับ FWA
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการให้กำหนดความถี่นี้เป็นความถี่หลักสำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นช่วง 24 - 24.05 GHz
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการให้กำหนดความถี่นี้เป็นความถี่หลักสำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นช่วง 24.05 - 24.25 GHz
กิจการวิทยุสมัครเล่นต้องการให้กำหนดความถี่นี้เป็นความถี่หลักสำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นช่วง 47 - 47.2 GHz
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง
ๆใน
1. คลื่นวิทยุ
คลื่นวิทยุ
1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation)
ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ )
สื่อสาร
ใน
1.2 ระบบ
ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์)
สื่อสาร
ใน
2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ
คลื่นโทรทัศน์
เนื่องจาก
3. รังสีอินฟาเรด
(infrared rays)
รังสีอินฟาเรด
4. แสง (light)
แสง
สี |
ความยาวคลื่น (nm) |
ม่วง |
380-450 |
น้ำเงิน |
450-500 |
เขียว |
500-570 |
เหลือง |
570-590 |
แสด |
590-610 |
แดง |
610-760 |
5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)
รังสีอัลตราไวโอเลต
หรือ รังสีเหนือม่วง มี
6. รังสีเอกซ์
(X-rays)
รังสีเอกซ์ มีความถี่
7. รังสีแกมมา (-rays)
รังสีแกมมา
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
ปัจจุบันมีการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในหลายๆด้านเช่น การติดต่อสื่อสาร ( มือถือ
โทรทัศน์ วิทยุ เรดาร์ ใยแก้วนำแสง) ทางการแพทย์(รังสีเอกซ์) การทำอาหาร(คลื่นไมโครเวฟ)
การควบคุมรีโมท(รังสีอินฟราเรด) คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคลื่นท่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กตั้งฉากกันและเคลื่อนที่ไปยังทิศทางเดียวกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 m/s หรือเทียบเท่ากับความเร็วแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า
(Electromagnetic disturbance) โดยการทำให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง
เมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก
หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง
ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน
และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง
จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้ สเปกตรัม (Spectrum) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่และความยาวคลื่นแตกต่างกัน
ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ คลื่นแสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด คลื่นวิทยุ
โทรทัศน์ ไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น
ดังนั้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จึงมีประโยชน์มากในการสื่อสารและโทรคมนาคม
และทางการแพทย์
สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ
299,792,458 m/s ซึ่งเท่ากับ
อัตราเร็วของแสง
3. เป็นคลื่นตามขวาง
4. ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
5. ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร
6. ไม่มีประจุไฟฟ้า
7. คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห
และเลี้ยวเบนได้
เจมส์ คลาร์ก แมเวล : James Clark
Maxwell
เกิด
วันที่ 13 พฤศจิกายน
ค.ศ. 1831 ที่เอดินเบิร์ก
(
เสียชีวิต วันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1879 ที่เคมบริดจ์ (
ผลงาน
- ทฤษฎีพลังงานจลน์ของความร้อน (Kinetic Theory of Heat)
- ทฤษฎีพลังงานจลน์ของก๊าซ (Kinetic Theory of
Gas)
- ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ผู้ค้นพบทฤษฎีความร้อนซึ่งเป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้เขามากที่สุดนอกจากนี้เขายังค้นพบว่าแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถ
ผ่านอีเทอร์ได้
โดยมีความเร็วเท่ากับความเร็วแสง
แมกเวลเกิดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1831 ที่เอดินเบิร์ก ประเทศสก็อตแลนด์
ในตระกูลที่ร่ำรวยและมีชื่อเสียงมาก
หลังจากที่แมกเวลจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว
เขาได้เข้าเรียนต่อวิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยเอดินเบิร์ก
(
ในระหว่างที่เขาศึกษาอยู่ที่นี่
เขาได้รู้จักกับนักฟิสิกส์ท่านหนึ่ง วิลเลี่ยม นิคอน
(William Nikon) ซึ่งค้นคว้าเกี่ยวกับแสง
เพื่อใช้สำหรับการถ่ายภาพเขาได้ประดิษฐ์ปริซึมแบบพาราโบลาขึ้นมา แมกเวลได้พบว่าแม่สีของแสงมี 3 สี ได้แก่
แสงสีแดง
เขียว และน้ำเงิน
ซึ่งทฤษฎีนี้ได้นำมาใช้เกี่ยวกับการอัดภาพสี
หลังจากจบการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเอดินเบิร์กแล้ว
แมกเวลได้เข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
(
วิชาปรัชญาธรรมชาติที่วิทยาลัยมาริสคาล (
ทำงานอยู่ที่มาริสคาล
เขาได้เข่าร่วมกับคณะดาราศาสตร์
เพื่อค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะของวงแหวนของดาวเสาร์ แมกเวลได้เสนอความเห็นว่าวงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วยดาวเคราะห์น้อย
(Planetoid) จำนวนมากมายทั้งขนาดใหญ่
่และขนาดเล็ก รวมตัวกันจนมีความหนาแน่นรอบ ๆ ดาวเสาร์
ซึ่งเมื่อมองจากโลกจะเห็นเป็นวงแหวน
แต่นักดาราศาสตร์ในยุคนั้นเชื่อว่าวงแหวนของดาวเสาร์เป็นของแข็ง
ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้นเมื่อดาวเสาร์หมุนรอบตัวเองก็จะเกิดแรงเหวี่ยงมหาศาลกระทำต่อวงแหวนนี้จนแตกหัก
เมื่อทฤษฎีของแมกเวลเผยแพร่ออกไปนักดาราศาสตร์ต่างก็ให้การยอมรับ
และสนับสนุนทฤษฎีของแมกเวล
ในปี
ค.ศ. 1860 แมกเวลได้ย้ายไปทำงานที่วิทยาลัยคิงส์
(King's College) ที่กรุงลอนดอนในตำแหน่งศาสตราจารย์
วิชาฟิสิกส์ เข้าทำงานอยู่ที่นี่ได้ประมาณ 5 ปี ก็ลาออก
และย้ายไปอยู่ที่เมืองเคนซิงต้น (Kensingtion) ประเทศสก็อตแลนด์
เพื่อทำการทดลองเกี่ยวกับก๊าซ ในเรื่องของการเคลื่อนที่
ความเร็ว และทิศทางการฟุ้งกระจายของก๊าซ โดยแมกเวลได้ทำการ
ศึกษาก๊าซที่ละชนิดที่อยู่ในภาชนะ และนอกภาชนะ
จากการทดลองแมกเวลได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับพลังงานจลน์ของก๊าซขึ้น
แต่ด้วยในขณะนั้นมีนักวิทยาศาสตร์อีกท่านหนึ่ง ชื่อ ลุดวิค โบลทซ์มาน (Ludwig Boltzmann) ได้ทำการค้นคว้าทดลอง
และได้ผลสรุปเช่นเดียวกับแมกเวล จึงมีชื่อเรียกทฤษฎีแห่งพลังงานจลน์นี้ว่า
"ทฤษฎีแห่งพลังงานจลน์แมกเวล - โบลทซ์มาน
ของก๊าซ (Kinetic Maxwell - Boltzmann Theory of Gas)" เข้าได้นำหลังการเดียวกันนี้มาทดลองเกี่ยวกับความร้อน
ขึ้นบ้าง และค้นพบ ทฤษฎีพลังงานจลน์ของความร้อน
(Kinetic Theory of Heat) ในเวลาต่อมา
ในปี
ค.ศ. 1864 แมกเวลได้เริ่มการทดลองเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กและไฟฟ้าแมกเวลกล่าวว่า
ไฟฟ้าและแม่เหล็กมีความสัมพันธ์กันเมื่อมีแม่เหล็กก็ต้องมีไฟฟ้า ดังนั้นแมกเวลจึงใช้หลักการนี้สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น
โดยการปล่อยกระแสไฟฟ้าให้แผ่รัศมีออกไป โดยใช้ความเร็วคงที่ จากการคำนวณของแมกเวลที่เกิดจากการนำอำนาจแม่เหล็ก
กับหน่วยไฟฟ้ามาหาอัตราส่วนกัน
ผลปรากฏว่าความเร็วที่เหมาะสม คือ 300,000
กิโลเมตรต่อวินาที
ในปี
ค.ศ. 1871 แมกเวลได้เข้าทำงานอีกครั้งหนึ่งในตำแหน่งศาสตราจารย์ควบคุมห้องทดลองของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และด้วยความนับถือในผลงานของเฮนรี่ คาเวนดิช
เขาจึงได้ริเริ่มสร้างห้องทดลองคาเวนดิชขึ้นในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้กับคาเวนดิชห้องทดลองนี้มีชื่อว่า ห้องทดลองฟิสิกส์คาเวนดิช
ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แสงที่ตามองเห็น (Visible light)
เป็นเพียงส่วนหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ในช่วงซึ่งประสาทตาของมนุษย์สามารถสัมผัสได้ ซึ่งมีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง
400 700
นาโนเมตร
(
สีแดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด
ภาพที่
2 ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
นอกจากแสงที่ตามองเห็นแล้วยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ได้แก่
รังสีที่มีความยาวคลื่นถัดจากสีแดงออกไป
เราเรียกว่า
รังสีอินฟราเรด หรือ รังสีความร้อน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด
แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด
มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้
โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ
รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า รังสีอุลตราไวโอเล็ต แม้ว่าเราจะมองไม่เห็น แต่เมื่อเราตากแดดนานๆ
ผิวหนังจะไหม้ด้วยรังสีชนิดนี้ นอกจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตและรังสีอินฟราเรดแล้ว ยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประเภทอื่นๆ
ซึ่งเรียงลำดับตามความยาวคลื่นได้ดังนี้
รังสีแกมมา (Gamma
ray) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01 นาโนเมตร โฟตอนของรังสีแกมมามีพลังงานสูงมาก
กำเนิดจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ เช่น ดาวระเบิด หรือ ระเบิดปรมาณู
เป็นอันตรายมากต่อสิ่งมีชีวิต
รังสีเอ็กซ์ (X-ray)
มีความยาวคลื่น 0.01 - 1 นาโนเมตร
มีแหล่งกำเนิดในธรรมชาติมาจากดวงอาทิตย์ เราใช้รังสีเอ็กซ์ในทางการแพทย์ เพื่อส่องผ่านเซลล์เนื้อเยื่อ
แต่ถ้าได้ร่างกายได้รับรังสีนี้มากๆ
ก็จะเป็นอันตราย
รังสีอุลตราไวโอเล็ต
(Ultraviolet
radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นาโนเมตร รังสีอุลตราไวโอเล็ตมีอยู่ในแสงอาทิตย์ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย
แต่หากได้รับมากเกินไปก็จะทำให้ผิวไหม้ และอาจทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง
แสงที่ตามองเห็น (Visible
light) มีความยาวคลื่น 400 700 นาโนเมตร พลังงานที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์ ส่วนมากเป็นรังสีในช่วงนี้
แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก
และยังช่วยในการสังเคราะห์แสงของพืช
รังสีอินฟราเรด (Infrared
radiation) มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร
คลื่นไมโครเวฟ
(Microwave)
มีความยาวคลื่น
คลื่นวิทยุ
(Radio
wave) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นมากที่สุด
คลื่นวิทยุสามารถเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศได้ จึงถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสาร
โทรคมนาคม
สเปกตรัมของความถี่วิทยุ
ชื่อย่านความถี่ |
ITU ย่านที่ |
ความถี่ |
ตัวอย่างการใช้งาน |
|
|
|
|
ELF(Extremely low frequency) |
1 |
3-30
Hz |
การสื่อสารกับเรือดำน้ำ |
SLF(Super low frequency) |
2 |
30-300
Hz |
การสื่อสารกับเรือดำน้ำ |
ULF(Ultra low frequency) |
3 |
300-3000
Hz |
การสื่อสารในเหมือง |
VLF(Very low frequency) |
4 |
3-30
kHz |
การสื่อสารใต้น้ำ, avalanche beacons, ระบบติดตามอัตราการเต้นของหัวใจแบบไร้สาย, ธรณีฟิสิกส์(geophysics) |
LF(Low frequency) |
5 |
30-300
kHz |
วิทยุนำร่อง, สัญญาณเวลา, ออกอากาศวิทยุ AM คลื่นยาว |
MF(Medium frequency) |
6 |
ออกอากาศวิทยุ AM คลื่นความยาวกลาง |
|
HF(High frequency) |
7 |
3-30
MHz |
วิทยุคลื่นสั้น, วิทยุสมัครเล่น และ การสื่อสารทางการบินที่ระยะข้ามเส้นขอบฟ้า |
VHF(Very high frequency) |
8 |
30-300
MHz |
FM, ออกอากาศโทรทัศน์ และ การสื่อสารแบบแนวตรงไม่โดนบดบัง(line-of-sight) จากพื้นสู่อากาศ และ จากอากาศสู่อากาศ |
UHF(Ultra high frequency) |
9 |
ออกอากาศโทรทัศน์, โทรศัพท์มือถือ, wireless LAN, บลูทูธ, และวิทยุสองทาง เช่น วิทยุ FRS และ วิทยุ GMRS |
|
SHF(Super high frequency) |
10 |
3-30
GHz |
อุปกรณ์ไมโครเวฟ, wireless LAN, เรดาห์สมัยใหม่ |
EHF(Extremely high frequency) |
11 |
30-300
GHz |
Radio astronomy, high-speed microwave radio relay |
|
|
ความถี่สูงกว่า
300
GHz |
|
หมายเหตุ
· ที่ย่านความถี่สูงกว่า 300 GHz ชั้นบรรยากาศของโลกจะดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่กระจายออกได้มาก ทำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถแผ่กระจายออกไปได้ ซึ่งคลื่นแม่เหล็กในย่านที่สูงกว่า 300 GHz นี้จะไม่สามารถแผ่กระจายผ่านชั้นบรรยากาศได้ จนถึงย่านความถี่ช่วง อิฟราเรด และ ย่านความถี่แสง
· ย่าน ELF SLF ULF และ VLF จะคาบเกี่ยวกับย่านความถี่เสียงซึ่งประมาณ 20-20,000 Hz แต่เสียงนั้นเป็นคลื่นกลจากแรงดันอากาศ ไม่ได้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
· ย่าน SHF และ EHF บางครั้งก็ไม่นับเป็นย่านความถี่วิทยุ แต่เรียกเป็นย่านความถี่ไมโครเวฟ
· อีกจุดหนึ่งที่น่าสังเกตคือ วัตถุทุกชนิดนั้นจะมีความถี่วิทยุของตัวเองไม่ว่าจะม่ขนาดเล็กเท่าใดก็ตาม
ย่านความถี่ออกอากาศ:
· วิทยุ AM คลื่นยาว (Longwave AM Radio) = 150kHz - 280kHz (LF)
· วิทยุ AM คลื่นความยาวขนาดกลาง (Mediumwave AM Radio) = 530kHz - 1610kHz (MF)
· TV ย่าน I (Channels 2 - 6) = 54MHz - 88MHz (VHF)
· วิทยุ FM ย่าน II = 88MHz - 108MHz (VHF)
· TV ย่าน III (Channels 7 - 13) = 174MHz - 216MHz (VHF)
· TV ย่าน IV & V (Channels 14 - 69) = 470MHz - 806MHz (UHF)
ความถี่วิทยุสมัครเล่น
ความถี่ของกิจการวิทยุสมัครเล่นนั้นขึ้นกับรัฐบาลของแต่ละประเทศที่จะอนุญาตให้นักวิทยุสมัครเล่นได้ใช้งาน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกความถี่โดยการใช้ความยาวคลื่น เช่น ความถี่ 7.0 ก็จะเรียกว่า 40 m หรือ "ย่านสี่สิบเมตร"
ความถี่ |
|
160 m |
1.8 ถึง 2.0 MHz |
80 m |
3.5 ถึง 4.0 MHz |
60 m |
5.3 ถึง 5.4 MHz |
40 m |
7 ถึง 7.3 MHz |
30 m |
10.1 ถึง 10.15 MHz |
20 m |
14 ถึง 14.35 MHz |
15 m |
21 ถึง 21.45 MHz |
12 m |
24.89 ถึง 24.99 MHz |
10 m |
28.0 ถึง 29.7 MHz |
6 m |
50 ถึง 54 MHz |
2 m |
144 ถึง 148 MHz |
70 cm |
430 ถึง 440 MHz |
23 cm |
1240 ถึง 1300 MHz |
ย่านความถี่ IEEE
ย่าน |
ความถี่ |
ที่มาของชื่อ |
3 to 30 MHz |
High Frequency |
|
30 to 300 MHz |
Very High Frequency |
|
300 to 1000 MHz |
Ultra High Frequency Frequencies from 216 to 450 MHz were sometimes called P-band: Previous, since early British Radar used this band but later switched to higher frequencies. |
|
1 to 2 GHz |
Long wave |
|
2 to 4 GHz |
Short wave |
|
4 to 8 GHz |
Compromise between S and X |
|
8 to 12 GHz |
Used in WW II for fire control, X for cross (as in crosshair) |
|
12 to 18 GHz |
Kurz-under |
|
18 to 26 GHz |
German Kurz (short) |
|
26 to 40 GHz |
Kurz-above |
|
40 to 75 GHz |
|
|
75 to 111 GHz |
W follows V in the alphabet |
ย่าน |
ความถี่ |
0 ถึง 0.25 GHz |
|
0.25 to 0.5 GHz |
|
0.5 to 1.0 GHz |
|
1 to 2 GHz |
|
2 to 3 GHz |
|
3 to 4 GHz |
|
4 to 6 GHz |
|
6 to 8 GHz |
|
8 to 10 GHz |
|
10 to 20 GHz |
|
20 to 40 GHz |
|
40 to 60 GHz |
|
60 to 100 GHz |
สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นมาโดยบุคคล 6 ท่าน คือ
ได้ยื่นขอจดทะเบียนสมาคมตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2485 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2506 จนได้รับอนุญาตเลขที่ ค. 99/2507 ต่อมาได้ยื่นขอจดทะเบียนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อกรมตำรวจ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2507 เป็นนิติบุคคลเลขที่ จ. 843 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2507 จากกองบังคับการตำรวจสันติบาล
นับแต่ก่อตั้งได้เข้าเป็นสมาชิกของ IARU แต่ยังมิได้จดทะเบียนอย่างเป็นทางการ เนื่องจากประเทศไทยยังไม่ได้รับอนุญาตให้เล่นวิทยุอย่างถูกต้องตามกฎหมาย นักวิทยุยังไม่ผ่านการสอบเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นอย่างถูกต้อง
มีการพบปะสังสรรค์กันทุกสัปดาห์ที่โรงแรมโอเรียลเต็ลในนามชื่อย่อ RAST มีจำนวนสมาชิกทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ มาร่วมเป็นจำนวนมาก แต่ก็ยังมิได้รับการรับรองจากหน่วยงานของทางราชการ เนื่องจากขณะนั้นประเทศไทยกำลังอยุ่ในสภาวะฉุกเฉินของสงครามเวียดนาม และการก่อการร้ายในประเทศไทย แต่การดำเนินงานของสมาคมคงเป็นไปอย่างปกติ ได้ย้ายสถานที่ประชุมจากโรงแรมโอเรียลเต็ลมาเป็นโรงแรม เอราวัณซึ่งเป็นโรงแรมของรัฐบาล ดำเนินการโดย พล.ท. เฉลิมชัย จารุวัตร ซึ่งรู้จักคุ้นเคยกับ พ.อ. กำชัย เป็นอย่างดี
กิจการวิทยุสมัครเล่นในหลายสมัยที่ พ.อ. กำชัย ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมติดต่อกันเป็นเวลากว่าสิบปีดำเนินไปด้วยดี โดยมิได้รับการตำหนิหรือท้วงติงจากทางราชการที่เกี่ยวข้องแต่ประการใด ในระยะเวลานั้นทางสมาคมฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดงานประชุม SEANET ที่โรงแรมเอราวัณ ถึง 2 ครั้ง และงานสำคัญอื่นๆ เกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่นในภูมิภาคเอเชียอีกหลายครั้งอย่างต่อเนื่องด้วยความเรียบร้อยทุกประการ
วัตถุประสงค์ของกิจการวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทยนั้นได้จดทะเบียนไว้อย่างชัดเจนว่าเพื่อเป็นสมาคมของ
ที่ทำการของนายกสมาคม
23/12 ซ.เจริญพร 2 ถ.ประดิพัทธิ์ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทย กทม. 10400 โทร.
02-6184435
ตู้ ปณ.
2008 กรุงเทพฯ 10501
P.O.Box
2008 Bangkok 10501 Thailand
website : http://www.rast.or.th และ http://www.qsl.net/rast
สัญญาณเรียกขาน |
ชื่อ-นามสกุล |
ตำแหน่ง |
HS1QVD |
นายชัยยง ว่องวุฒิกำจร |
นายก |
HS1DN |
พ.อ.(พิเศษ) ประสิทธิ์ นีละโยธิน |
อุปนายก |
HS1WFK |
นายพัฒนดิฐ กุลไพจิตร |
เลขาธิการ |
HS1LCC |
นางญาณี จุลละเกศ |
เหรัญญิก |
HS0QAA |
นางสาวพัชรา พัชราวนิช |
กรรมการฝ่ายบัญชี |
HS1JC |
นายครรชิต จามรมาน |
กรรมการฝ่ายวิชาการ |
HS1RGF |
นายอุทัย กนกวุฒิพงศ์ |
กรรมการฝ่ายกฎหมาย |
HS1CHB |
พ.ต. นริศรา เชาวนาศัย |
กรรมการฝ่ายกิจกรรม |
OZ1HET |
นายฟิน คริสเตียน โอลเซน เยนเซน |
กรรมการฝ่ายสถานีวิทยุ |
HS0ZEN |
นายไบรอัน คาร์ล จอห์น ลี |
กรรมการฝ่ายต่างประเทศ |
HS7XPE |
นายสรรเสริญ เรืองฤทธิ์ |
นายทะเบียน |
สัญญาณเรียกขาน |
ชื่อ-นามสกุล |
ปี พ.ศ. |
HS1YL |
นางมยุรี โชติกุล |
2535 - 2549 |
HS1HB |
นายวิกรม บุญยัษฐิติ |
2533 - 2534 |
HS1SS |
นายศรีภูมิ ศุขเนตร |
2530 - 2531 |
HS1WB |
นายจำนงค์ ภิรมย์ภักดี |
2527 - 2530 |
HS1KV |
ดร.รชฎ กาญจนวนิช |
2526 - 2527 |
HS1NG |
ดร.กัญจน์ นาคามดี |
มิ.ย. - ธ.ค. 2525 |
HS1WR |
พ.อ. (พิเศษ) กำชัย โชติกุล |
2510 - 2526 |
HS1HJA |
นายสุรเดช วิเศษสุรการ |
2507 - 2510 |
วันที่ 10 พฤศจิกายนน พ.ศ. 2507 มีการก่อตั้งสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Radio Amateur Society of Thailand (RAST)
ก่อนหน้านั้น กิจการวิทยุสมัครเล่น มีขึ้นในประเทศไทยหลายสิบปีแล้ว จากการบอกกล่าวของนักวิทยุสมัครเล่นรุ่นแรกๆเล่าว่าได้มากกว่า 60 ปี แต่ก็ไม่ได้รับความสนใจจากทั้งประชาชนทั่วไปและจากรัฐบาลเท่าใดนัก
นับจากก่อตั้งเป็นเวลากว่า 40 ปีที่ได้รับความสนใจจากประชาชนทั่วไปมากขึ้นเป็นลำดับ
โดยที่สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ "เพื่อเป็นสมาคมของนักวิทยุสมัครเล่นที่มิใช่เพื่อการค้า แต่รวมกันเพื่อส่งเสริมความสนใจเกี่ยวกับการทดลองวิทยุเพื่อความก้าวหน้าทางศิลปการวิทยุ และผดุงไว้ซึ่งชื่อเสียงของนักวิทยุสมัครเล่น ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ และเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นซึ่งกันและกันโดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง"
สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย พยายามดำเนินการกิจการวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทยให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยขออนุญาตทำกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่นมาโดยตลอด เช่น การเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันระดับนานาชาติในรายการแข่งขันวิทยุสมัครเล่นต่างๆ รวมทั้งเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันรายการต่างๆ หลายรายการนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติในสมัยนั้น ให้มีการจัดตั้งสถานีชั่วคราวขึ้นได้
ต่อมามีการจัดตั้ง "ชมรมวิทยุอาสาสมัคร" ในปี พ.ศ. 2524 ขึ้น โดย พล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกลธ์ ซึ่งดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขในขณะนั้น และได้มีการจัดให้มีการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 ซึ่งในครั้งนั้นมีการกำหนดสัญญาณเรียกขานเป็น "VR" โดยเริ่มจาก VR001 ไปเรื่อยๆ มีผู้สมัครสอบประมาณ 500 คน และสอบผ่าน 311 คน ผู้ที่สอบได้จะเรียกตัวเองว่า นักวิทยุอาสาสมัคร
แต่เป็นที่ทราบกันดีว่านักวิทยุอาสาสมัครได้ใช้ความถี่วิทยุสมัครเล่น ช่วยเหลือสังคม และงานต่างๆ ของทางราชการตลอดมา ซึ่งก็เป็นครั้งแรกที่ประชาชนทั่วไปได้มีสิทธิใช้งานความถี่วิทยุ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้า การเมือง และศาสนา ซึ่งหลังจากนั้นคณะกรรมการชมรม ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในรูปแบบของสมาคม ภายใต้ชื่อ "สมาคมวิทยุอาสาสมัคร" มีชื่อภาษาอังฤษว่า "Voluntary Radio Association (VRA)" ในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์รวมนักวิทยุอาสาสมัคร ช่วยเหลือสังคมและสาธารณประโยชน์แลกเปลี่ยนความรู้ทางเทคนิคระหว่างสมาชิกและพัฒนาวิชาการด้านวิทยุคมนาคม โดยการปฏิบัติการติดต่อสื่อสารของสมาชิกทั้งหมดไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือศาสนา และไม่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวข้องกับการเมือง
"กิจการวิทยุสมัครเล่น" ได้รับการรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่างแท้จริงเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2530 จากการประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติ ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2530 นับได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสให้มีการติดต่อสื่อสารแบบ "นักวิทยุสมัครเล่น" อย่างแท้จริงขึ้นในประเทศไทย โดยกำหนดสัญญาณเรียกขานที่เป็นสากลตามข้อกำหนดของ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
ซึ่งกำหนดให้ประเทศไทยใช้สัญญาณเรียกขานที่ขึ้นต้นด้วย " HS" และในเวลาต่อมาได้กำหนดสัญญาณเรียกขาน "E2" เพิ่มให้กับประเทศไทย
เครื่องส่งที่ทันสมัยของนักวิทยุสมัครเล่น
นักวิทยุสมัครเล่นติดต่อสื่อสารกันในหลายรูปแบบ โดยทั่วไปนิยมติดต่อสื่อสารกันด้วยเสียงพูด ซึ่งถ้าใช้การผสมคลื่นความถี่แบบ FM จะได้คุณภาพของเสียงที่ดีมาก แต่หากต้องการติดต่อสื่อสารเป็นระยะทางไกลๆ โดยใช้แถบความถี่น้อยหรือมีแถบความถี่ค่อนข้างจำกัดก็จะใช้การผสมคลื่นแบบ single sideband (SSB) ได้ การติดต่อสื่อสารด้วยรหัสมอร์ส ยังคงได้รับความนิยมอย่างมากสำหรับนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก[ต้องการแหล่งอ้างอิง] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในย่านความถี่ต่ำ (HF) ซึ่งจากการทดลองก็พบว่าเป็นการติดต่อสื่อสารที่ดีมากหากเทียบอัตราส่วนระหว่างสัญญาณรบกวนและสัญญาณข้อมูล
การติดต่อด้วยรหัสมอร์สนั้นเป็นส่วนช่วยให้นักวิทยุสมัครเล่นที่อยู่คนละประเทศ พูดคนละภาษา แต่สามารถใช้รหัสมอร์สพูดคุยหรือสื่อสารกันได้ด้วยรูปแบบที่เป็นสากล และที่สำคัญเครื่องรับ-ส่ง CW นั้นสามารถสร้างได้ง่ายอีกด้วย สำหรับการติดต่อสื่อสารในปัจจุบันที่ทันสมัยของนักวิทยุสมัคเล่นโดยอาศัยคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนเสริมให้การติดต่อสื่อสารแบบดิจิตอลได้รับความนิยมขึ้นเป็นอย่างมาก ซึ่งหากเป็นสมัยก่อนจะต้องใช้เครื่องมือมากมายในการติดต่อสื่อสารที่เป็นดิจิตอล ที่ผ่านมานักวิทยุสมัครเล่นเป็นผู้ริเริ่มนำระบบ Packet Radio เข้ามาใช้งาน ซึ่งต่อมาได้มีหลายๆ องค์กรนำไปพัฒนาและใช้งานให้เกิดประโยชน์มากมาย อีกทั้งนักวิทยุสมัครเล่นยังได้พัฒนาการติดต่อสื่อสารดิจิตอลอีกหลายรูปแบบ เช่น PSK31 ที่ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารแบบทันทีและใช้กำลังส่งที่น้อยในความถี่คลื่นสั้น (HF) WSJT ซึ่งนิยมใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารที่สัญญาณอ่อนมากๆ โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์ การติดต่อสื่อสารด้วยภาพคล้ายการส่งสัญญาณโทรทัศน์นักวิทยุสมัครเล่นก็สามารถพัฒนาขึ้นมาใช้งานได้เช่นกัน
นักวิทยุสมัครเล่นจำนวนไม่น้อยชอบที่จะพูดคุยกับนักวิทยุสมัครเล่นคนอื่น ๆ บนความถี่วิทยุเป็นประจำ โดยการคุยกันเป็นกลุ่มหลาย ๆ คน เรียกการจับกลุ่มคุยแบบนี้ว่า "Rag Chew" การคุยกันแบบนี้นับได้ว่ามีมาตั้งแต่เริ่มแรกของวิทยุสมัครเล่นเลยก็ว่าได้
เรื่องที่พูดคุยกันนั้นก็เป็นเรื่องทั่วๆ ไป หรือเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น เช่น ความรู้สายอากาศ การซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิคส์ เป็นต้น
ตัวอย่างบัตรยืนยันการติดต่อ (QSL card)
โดยทั่วไปนักวิทยุสมัครเล่นมักนิยมแลกเปลี่ยนบัตรยืนยันการติดต่อ หรือ QSL card ระหว่างกัน เพื่อที่จดบันทึกการติดต่อสื่อสารครั้งนั้นไว้ ซึ่งรางวัลต่าง ๆ ในกิจการวิทยุสมัครเล่น หลายรางวัลจำเป็นต้องใช้บัตรยืนยันการติดต่อนี้เพื่อรับรางวัล นักวิทยุสมัครเล่นบางคนก็นิยมเก็บสะสม เพราะมีความสวยงาม
นักวิทยุสมัครเล่นหลายคนก็นิยมติดต่อกับสถานีที่อยู่ไกลออกไปจากที่อยู่ของตนเอง เช่น ติดต่อกันผ่านความถี่ย่าน HF ซึ่งสามารถติดต่อระหว่างประเทศ ระหว่างทวีปได้ทั่วโลก หรือแม้กระทั่งพยายามใช้ความถี่ย่าน VHF สามารถติดต่อได้ไกลๆ โดยเทคนิคด้านการสื่อสารแบบต่าง เช่น การติดต่อสื่อสารโดยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวพื้นดวงจันทร์ เป็นต้น
มีหลายประเทศหรือหลายสถานที่ ที่มีนักวิทยุสมัครเล่นอยู่น้อยหรือไม่มีเลย ซึ่งเป็นที่ต้องการของนักวิทยุสมัครเล่นจากส่วนต่างๆ ของโลกที่ต้องการติดต่อกับสถานีวิทยุสมัครเล่นในสถานที่เหล่านี้ ซึ่งอาจมีการวมตัวกันเดินทางไปตั้งสถานีชั่วคราว เพื่อทำการติดต่อออกมาจากสถานที่เหล่านี้ ซึ่งการเดินทางไปเช่นนี้เรียกว่า DX-peditions ซึ่งถ้าเป็นการเดินทางไปยังสถานที่ที่ยากลำบากหรือมีความต้องการติดต่อกับสถานที่นั้นมาก จะสามารถติดต่อได้เป็นแสนสถานีจากทั่วทุกประเทศ ภายในระยะเวลาไม่กี่สัปดาห์
มีรางวัลสำหรับนักวิทยุสมัครเล่นที่สามารถติดต่อ (มักนิยมเรียกว่า "Work") กับสถานีวิทยุสมัครเล่นในส่วนต่างๆ ของโลก มากมายหลายรางวัล รางวัลที่เป็นที่นิยมได้แก่ รางวัล DX Century Club (DXCC) คือรางวัลที่ให้กับผู้ที่สามารถติดต่อและยืนยันด้วยบัตรยืนยันการติดต่อได้ 100 ประเทศขึ้นไป จากทั้งหมด 335 ประเทศ ซึ่งเป็นรางวัลที่นิยมมากที่สุด ถ้าใครได้รับรางวัลนี้ก็เป็นการพิสูจน์ว่าเป็นผู้มีทักษะและความพยายาม ในการใช้ความสามารถในการติดต่อได้หลายประเทศ นอกจากนี้ยังมี รางวัล Work All States สำหรับผู้ที่สามารถติดต่อครบทุกรัฐของสหรัฐอเมริกา รางวัล Work All Continents ให้กับผู้ที่สามารถติดต่อได้ครบ 6 ทวีปของโลก รางวัล Work All Zones มอบให้ผู้ที่ติดต่อได้ครบ Zone
การแข่งขัน หรือ Contesting หรือ Radio sport คือ กิจกรรมการแข่งขันของนักวิทยุสมัครเล่นที่จัดและดำเนินการโดยนักวิทยุสมัครเล่น ซึ่งในการแข่งขันนั้น สถานีวิทยุสมัครเล่น อาจออกอากาศด้วยนักวิทยุสมัครเล่นเพียงคนเดียวหรือรวมกลุ่มกัน เพื่อจะพยายามติดต่อสถานีวิทยุสมัครเล่นอื่นๆ ให้ได้มากที่สุดภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยในการติดต่อกันนั้นจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันด้วย ซึ่งกติกาการแข่งขันนั้นก็จะกำหนดความถี่ที่ใช้ในการติดต่อและข้อมูลที่ต้องแลกเปลี่ยนกันในแต่ละครั้ง ซึ่งการติดต่อแต่ละสถานีจะถูกคำนวณออกมาเป็นคะแนน ซึ่งจะนำมาจัดลำดับหลังจากจบการแข่งขัน การแข่งขันแต่ละรายการจะมีผู้สนับสนุนและกติกาแตกต่างกันออกไป ส่วนมากผลการแข่งขันจะประกาศในนิตยสารวิทยุสมัครเล่นที่เป็นที่รู้จักหรือตามเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยุสมัครเล่น นับวันจะมีจำนวนการแข่งขันเพิ่มขึ้น รวมทั้งนักวิทยุสมัครเล่นที่เข้าร่วมแข่งขันก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และนักวิทยุสมัครเล่นหลายๆ คน มักเข้าร่วมแข่งขันเป็นประจำทุกรายการ เหมือนกับว่าเป็นกิจกรรมหลักของนักวิทยุสมัครเล่นนั้น ๆ ก็ว่าได้
สัญญาณเรียกขานพิเศษ
ในเหตุการณ์สำคัญต่างๆ มักจะมีการกำหนดสัญญาณเรียกขานพิเศษ เพื่อใช้สำหรับการทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้น ซึ่งนักวิทยุหลายคนก็คอยจะติดต่อกับสถานีพิเศษเหล่านี้ เพื่อจะขอรับบัตรยืนยันการติดต่อไว้เป็นที่ระลึก ซึ่งในบางโอกาสอาจมีการใช้ prefix พิเศษ เช่น HS2000 ซึ่งเป็นสถานีรายงานการปรับเปลี่ยนปี ค.ศ. ใหม่ HS50A สัญญาณเรียกขานพิเศษสำหรับเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี
นักวิทยุสมัครเล่นมักจะนำอุปกรณ์วิทยุสื่อสารของตนเองติดตัวไปด้วยเวลาไปเที่ยวยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง และจะออกอากาศหรือทำการติดต่อจากสถานที่เหล่านั้น (ต้องได้รับอนุญาตสำหรับการออกอากาศในสถานที่นอกเหนือจากที่ได้รับอนุญาต) ด้วยกำลังส่งต่ำ และสายอากาศที่สามารถติดตั้งได้ง่าย ซึ่งก็มีบ่อยครั้งที่ตั้งใจเดินทางไปยังสถานที่ที่ห่างไกลและไม่มีนักวิทยุสมัครเล่นไปออกอากาศ เพื่อเปิดโอกาศให้นักวิทยุสมัครเล่นจากที่ต่าง ๆ ได้ติดต่อเข้ามาเพื่อแลกบัตรยืนยันการติดต่อ แม้กระทั้ง นักวิทยุที่ชอบเดินทางด้วยเรือหรือเครื่องบินก็สามารถใช้เครื่องมือสื่อสารติดต่อกับนักวิทยุสมัครเล่นอื่น ๆ ได้เช่นกัน
มีนักวิทยุสมัครเล่นบางคนที่ชอบสร้างเครื่องรับ-ส่ง ด้วยตนเอง และนำมาใช้ด้วยกำลังส่งที่ต่ำ เรียกว่า QRP ซึ่งมาจาก Q code ที่มีความหมายว่า "ลดกำลังส่ง" การออกอากาศด้วย QRP ใช้กำลังส่งไม่เกิน 5 วัตต์ สำหรับรหัสมอร์ส และไม่เกิน 10 วัตต์สำหรับการส่งด้วยเสียง
ที่ผ่านมานักวิทยุสมัครเล่นได้ส่งดาวเทียมสำหรับการติดต่อสื่อสารหรือการทดลองของนักวิทยุสมัครเล่นมากกว่า 70 ดวงแล้ว ในโครงการที่ชื่อว่า Orbiting Satellite Carrying Amateur Radio หรือ OSCAR ซึ่งบางดวงก็สามารถใช้งานด้วยการใช้เครื่องวิทยุรับ-ส่งชนิดมือถือ และสายอากาศชนิดติดกับตัวเครื่อง หรือ "rubber duck" โดยเฉพาะอย่างยิ่ง AO-51 หรือ AMSAT Echo นักวิทยุสมัครเล่นยังสามารถใช้ "ดาวเทียมธรรมชาติ" ได้แก่ ดวงจันทร์ และ ดาวตก สำหรับการสะท้อนคลื่นเพื่อการติดต่อสื่อสาร นักวิทยุสมัครเล่นยังสามารถติดต่อสื่อสารกับสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station หรือ ISS) ซึ่งนักบินอวกาศเกือบทุกคนที่ประจำอยู่จะได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีโครงการให้นักเรียนได้ติดต่อพูดคุยกับนักบินอวกาศผ่านความถี่วิทยุสมัครเล่น อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นความถี่สำรองสำหรับสถานีอวกาศนานาชาติอีกด้วย
สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนักวิทยุสมัครเล่น จะต้องได้สอบเพื่อรับประกาศนียบัตรวิทยุสมัครเล่นจาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช) ก่อนจึงจะสามารถใช้งานความถี่วิทยุของนักวิทยุสมัครเล่นได้ ซึ่งนักวิทยุสมัครเล่นของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่
1. ประกาศนียบัตรวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น
2. ประกาศนียบัตรวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง
3. ประกาศนียบัตรวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง
ซึ่งในแต่ระดับขั้นนั้นมีสิทธิที่จะใช้งานความถี่วิทยุสมัครเล่นและกำลังส่งที่แตกต่างกัน สำหรับนักวิทยุสมัครเล่นขั้นสูงนั้น ยังไม่เคยเปิดสอบสำหรับประชาชนทั่วไป แต่มีการถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น
หมายเหตุ : ขณะนี้คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช) อยู่ระหว่างการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่น จึงยังไม่มีการเปิดให้บุคคลทั่วไปได้สอบเพื่อรับประกาศนียบัตรวิทยุสมัครเล่น
เมื่อสอบผ่านหรือได้รับประกาศนียบัตรรับรองการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นแล้ว จะมีสิทธิการใช้งานความถี่ที่กำหนดให้ใช้เฉพาะนักวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งมีหลายย่านความถี่ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) และใช้กำลังส่งได้สูงสุดตามที่กฎหมายกำหนดแต่ละลำดับชั้นของใบอนุญาต สำหรับประเทศไทยสิทธิต่างๆ เป็นดังตาราง
ใบอนุญาต |
ความถี่ |
กำลังส่งสูงสุด |
นักวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น |
144.000 - 146.000 MHz |
ไม่เกิน 10 วัตต์ |
นักวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง |
144.000 - 146.000 MHz |
ไม่เกิน 10 วัตต์ |
1.800 - 1.825 MHz 3.500 - 3.540 MHz 7.000 - 7.100 MHz 10.100 - 10.150 MHz 14.000 - 14.350 MHz 18.068 - 18.168 MHz 21.000 - 21.450 MHz 24.890 - 24.990 MHz 28.000 - 29.700 MHz |
ไม่เกิน 200 วัตต์ |